Sunday, October 31, 2010

แผนปรองดอง ที่ยังไม่ตกผลึกความคิด

มุมมอง คกก.ปรองดองของนายจาตุรนต์
นายจาตุรนต์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ชี้แผนปรองดองของรัฐฯ ไม่ใช่แผนปรองดองอย่างแท้จริง และอาจทำให้ประเทศประสบกับวิกฤตมากกว่าเดิม

นายจาตุรนต์ ฉายแสง อดีตรองนายกรัฐมนตรี เห็นว่าแผนปรองดองของรัฐบาลที่มีการตั้งคณะกรรมการขึ้นมาหลายคณะ ไม่ใช่แผนปรองดองอย่างแท้จริง นอกจากจะไม่ช่วยแก้ปัญหาแล้ว ยังทำให้ประเทศประสบกับวิกฤตมากกว่าเดิม ถือว่าแผนปรองดองไม่มีอยู่จริง เป็นการซ้ำเติมปัญหา และยังแสดงให้เห็นถึงความเป็นสองมาตรฐานของรัฐบาล โดยเฉพาะเรื่องของการเยียวยา ที่ช่วยเหลือแต่ในภาคธุรกิจ แต่กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตมากถึง 88 คนรัฐบาลกลับละเลย ในขณะเดียวกันยังมีการกวาดล้างที่ทำให้พยานเกิดความหวาดกลัว และไม่กล้าออกมาเป็นพยานว่ารัฐบาลสั่งฆ่าประชาชน ดังนั้นสิ่งที่รัฐบาลชุดนี้ดำเนินการอยู่จึงเป็นสิ่งที่ร้ายแรงกว่าสมัย รัฐบาลเผด็จการด้วยซ้ำ

มติส.ส.เพื่อไทยหนุนแผนปรองดอง เรียกร้องรัฐบาลตกผลึกทางความคิด ดำเนินการให้เป็นรูปธรรม
ส.ส.พท.เห็นด้วยแผนปรองดองเรียกร้องรบ.ตกผลึกความคิด-ดำเนินการเป็นรูปธรรม

เมื่อเวลา 14.00 น. วันที่ 7 กันยายน ที่พรรคเพื่อไทย มีการประชุมส.ส.พรรคร่วมกับกรรมการบริหารพรรค โดยมีนายยงยุทธ วิชัยดิษฐ หัวหน้าพรรคเป็นประธาน

ภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมนายพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ โฆษกพรรคเพื่อไทย แถลงว่า ที่ประชุมได้พิจารณาข้อเสนอปรองดองของพรรคเพื่อไทย โดยที่ประชุมส่วนใหญ่เห็นด้วยในหลักการ รวมทั้งพิจารณาถึงผลสำรวจของประชาชนที่เห็นด้วยกับการปรองดองถึงร้อยละ 59

อย่างไรก็ตามยังเห็นว่าต้องรอความชัดเจนในการเริ่มต้นปรองดองของรัฐบาล และจากนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกฯ เพราะถือเป็นผู้นำในฝ่ายบริหาร แต่ยังเห็นภาพความขัดแย้งระหว่างนายกฯกับนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกฯ ที่เป็นผู้จัดการรัฐบาลอยู่ จนมองเห็นภาพความไม่ตกผลึกกัน จึงอยากเรียกร้องให้รัฐบาลตกผลึกทางความคิด และดำเนินการให้เป็นรูปธรรม

ส่วนเรื่องตัวบุคคลของพรรคเพื่อไทย ที่จะไปเจรจานั้น พรรคเห็นว่าเรื่องตัวบุคคลไม่สำคัญเท่าหลักการในการเจรจา อย่างไรก็ตามในส่วนของพรรคทั้งกรรมการบริหารและส.ส.ก็พร้อมที่จะเจรจาได้อยู่แล้ว หรือแม้แต่ทางรัฐบาลเห็นถึงความไม่สบายใจในการหารือก็แจ้งมาได้ เช่นเดียวกันกับทางเพื่อไทยหากไม่สบายใจในการพูดจากกับใครก็ต้องบอกกัน

"สมชาย"รับพท.เสียงแตกแผนปรองดองลั่นพร้อมเป็นตัวแทนเจรจาถ้าทำบ้านเมืองสงบ

นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์วันที่ 7 กันยายนถึงกรณีที่นายปลอดประสพ สุรัสวดี รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทยเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อ ว่า ในหลักการตนเห็นด้วย การได้มาทำความเข้าใจกันจะทำให้ประเทศชาติสงบสุขซึ่งเป็นยอดปราถนาของทุกคนที่ต้องการเห็นทุกฝ่ายหันหน้าเข้าหากัน ส่วนวิธีการจะทำอย่างไรนั้นให้คนที่มีส่วนเกี่ยวข้องไปดำเนินการเอง ทั้งนี้เห็นว่าปัจจัยสำคัญที่จะทำให้แผนปรองดองนี้ประสบความสำเร็จคือความจริงใจของทุกฝ่าย ขาดไปฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่ได้จะเอาเฉพาะพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์มาคุยกันเพียง 2 ฝ่ายก็ไม่ได้ มางุบงิบคุยกัน 2 พรรคมันก็ไม่สมบูรณ์ เพราะบ้านเมืองมีด้วยกันหลายฝ่าย ซึ่งแล้วแต่ว่าฝ่ายไหนที่รู้สึกว่าตัวเองไม่ได้รับเป็นธรรมหรืออยู่ในมุมมืดก็สามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้

“ให้อภัยกันได้ก็ต้องให้อภัยกัน แต่ต้องไปดูกฎหมายด้วยว่าอย่างไร เพราะกฎหมายบ้านเมืองก็ต้องมีอยู่ ซึ่งต้องดูตามความเหมาะสม”นายสมชายกล่าว

ผู้สื่อข่าวถามตัวบุคคลที่พรรคเพื่อไทยจะส่งไปเจรจา นายสมชาย กล่าวว่า ตนไม่ทราบเป็นเรื่องของพรรคเพื่อไทย แต่ตนเห็นว่าพรรคเพื่อไทยจะส่งใครก็ได้เป็นเรื่องของแต่ละฝ่าย ซึ่งต้องให้เกียรติซึ่งกันและกันจะไปตำหนิว่ากล่าวกันไม่ได้

เมื่อถามว่ายินดีทำหน้าที่หรือไม่หากได้พรรคเพื่อไทยมอบให้เป็นตัวแทนในการเจรจา นายสมชาย กล่าวว่า ก็ต้องถามพรรคเพื่อไทย ซึ่งตนไม่อยากพูดว่ายินดีหรือไม่เพราะไม่เช่นนั้นจะหาว่าตนอยากอีก แต่พูดได้เพียงว่าอะไรก็ตามที่จะทำให้ชาติชาติบ้นเมืองมีความสงบเรียบร้อยก็ต้องช่วยกันในฐานะคนไทยทุกคน คนที่เป็นผู้ใหญ่ถ้าช่วยได้ก็ต้องช่วย

เมื่อถามถึงกรณีที่มีการวิพากษ์วิจารณ์ที่มีการดึงให้องค์กรต่างประเทศมามีส่วนร่วมในแผนปรองดองทั้งที่เรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องของประเทศ นายสมชาย กล่าวว่า ในเรื่องดังกล่าวตนไม่ทราบรายละเอียด ซึ่งต้องดูว่าเป็นเรื่องภายในประเทศไทยหรือไม่ซึ่งหากเป็นเรื่องภายในประเทศการมาแทรกแซงก็ไม่เหมาะสม แต่หากเป็นเรื่องที่เขาช่วยเสนอแนะความคิดเห็นในแนวทางที่ปราถนาดีไม่ได้มาแทรกแซงอะไรก็น่าจะไม่เป็นอะไร ก็ควรที่จะลองฟังเขาดู

เมื่อถามถึงกรณีที่ส.ส.เพื่อไทยเสียงแตกในการสนับสนุนแผนปรองดอง นายสมชาย กล่าวว่า เป็นธรรมดาเพราะพรรคเพื่อไทยมีส.ส.มากเกือบ 200 คนแต่ตอนนี้เป็นเรื่องของมติพรรคไปแล้วซึ่งถือว่าเป็นจุดยืนของพรรค

ส.ส.พท.โวย"ปลอดประสพ"ทำผิดพลาดเร่งเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อ

นายสุชาติ ลายน้ำเงิน ส.ส.ลพบุรี พรรคเพื่อไทย ให้สัมภาษณ์วันที่ 7 กันยายน ก่อนการประชุมส.ส.พรรคเพื่อไทย วาระสำคัญจะเป็นการหารือถึงกรณีที่นายปลอดประสพ สุรัสวดี รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทยเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อ ว่า เป็นการตัดสินใจที่เร็วไป อีกทั้งส.ส.ในพรรคเองก็ไม่รับทราบเรื่องนี้มาก่อน จึงคาดว่าจะมีส.ส.อภิปรายประเด็นดังกล่าวอย่างกว้างขวางและคาดว่าส.ส.ส่วนใหญ่จะคัดค้านแผนดังกล่าวรวมถึงตนด้วย

อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่าตนและส.ส.พรรคเพื่อไทยไม่ต้องการสร้างความปรองดองในชาติ เราทุกคนอยากเห็นประเทศมีความปรองดอง สมานฉันท์ แต่เห็นว่าที่ผ่านมารัฐบาลไม่มีความจริงใจจะปรองดอง กระบวนการสร้างความปรองดอง รัฐบาลในฐานะผู้มีอำนาจต้องเป็นฝ่ายเริ่มหรือยื่นมือออกมาก่อน ไม่ใช่พรรคเพื่อไทยและคนเสื้อแดงที่อยู่ในฐานะผู้ถูกกระทำ การที่มีคนเสื้อแดงบาดเจ็บล้มตายจำนวนมาก ย่อมเป็นไปได้ยากที่พรรคเพื่อไทยจะเป็นฝ่ายเริ่มต้นยื่นข้อเสนอให้รัฐบาลมาปรองดองด้วย ทั้งนี้ข้อเรียกร้องของเรายังเหมือนเดิมคือจะเริ่มต้นปรองดองได้รัฐบาลต้องยุบสภา จัดให้มีการเลือกตั้งใหม่และต้องรับผิดชอบต่อความสูญเสียที่เกิดขึ้น

“สิ่งสำคัญ ต้องถามว่าที่ผ่านมานายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกฯ ได้ดำเนินการเรื่องใดบ้างที่แสดงให้เห็นว่ารัฐบาลต้องการสร้างความปรองดอง ตรงกันข้ามยังมีการไล่ล่าคนเสื้อแดง เช่น ที่จ.ลพบุรี มีการขึ้นบัญชีรายชื่อคนเสื้อแดง กว่า 2,000 คนเพื่อติดตามไล่ล่า ผมจึงคิดว่าการที่นายปลอดประสพเร่งออกมายื่นข้อเสนอปรองดอง โดยที่ไม่ถามความเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงเป็นเรื่องที่ผิดพลาด”

"ปลอดประสพ"ยอมรับถก"สุขุมพันธุ์-ทูต ตปท.-ทหาร-ยูเอ็น"คลอดแผนปรองดอง

นายปลอดประสพ สุรัสวดี รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ให้สัมภาษณ์รายการเจาะลึกทั่วไทย อินไซด์ ไทยแลนด์ ทางสถานีวิทยุ 97.0 เมกกะเฮิร์ตซ์ วันที่ 7 กันยายนยอมรับว่า แผนการปรองดอง 5 ข้อที่ได้ออกแถลงการณ์มีการหารือกันจริงระหว่างตนกับเอกอัครราชทูตต่างประเทศ,ม.ร.ว.สุขุพันธุ์ บริบัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ,นักวิชาการต่างชาติของสหประชาชาติรวมทั้งนายทหาร

ทั้งหมดทั้งปวงและทุกคนที่เข้าร่วมมีความหวังดีและรักต่อประเทศไทย อย่างไรก็ตามถึงปัจจุบันคาดว่าเกิดยาก ส่วนของตนไม่หวั่นว่าจะโดนพรรคเพื่อไทยตำหนิถึงการกระทำดังกล่าว

"ขณะนี้ผมหวังว่าประชาชนจะออกมากดดันให้เกิดการปรองดองโดยมีสื่อมวลชนเป็นตัวกลางและในการหารือดังกล่าวก็มีทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม ยกเว้นกลุ่มเสื้อเหลือและเสื้อแดง เนื่องจากสุดขั้วเกินไป"

แผนปรองดอง ที่ยังไม่ตกผลึกความคิด

มุมมอง คกก.ปรองดองของนายจาตุรนต์
นายจาตุรนต์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ชี้แผนปรองดองของรัฐฯ ไม่ใช่แผนปรองดองอย่างแท้จริง และอาจทำให้ประเทศประสบกับวิกฤตมากกว่าเดิม

นายจาตุรนต์ ฉายแสง อดีตรองนายกรัฐมนตรี เห็นว่าแผนปรองดองของรัฐบาลที่มีการตั้งคณะกรรมการขึ้นมาหลายคณะ ไม่ใช่แผนปรองดองอย่างแท้จริง นอกจากจะไม่ช่วยแก้ปัญหาแล้ว ยังทำให้ประเทศประสบกับวิกฤตมากกว่าเดิม ถือว่าแผนปรองดองไม่มีอยู่จริง เป็นการซ้ำเติมปัญหา และยังแสดงให้เห็นถึงความเป็นสองมาตรฐานของรัฐบาล โดยเฉพาะเรื่องของการเยียวยา ที่ช่วยเหลือแต่ในภาคธุรกิจ แต่กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตมากถึง 88 คนรัฐบาลกลับละเลย ในขณะเดียวกันยังมีการกวาดล้างที่ทำให้พยานเกิดความหวาดกลัว และไม่กล้าออกมาเป็นพยานว่ารัฐบาลสั่งฆ่าประชาชน ดังนั้นสิ่งที่รัฐบาลชุดนี้ดำเนินการอยู่จึงเป็นสิ่งที่ร้ายแรงกว่าสมัย รัฐบาลเผด็จการด้วยซ้ำ

มติส.ส.เพื่อไทยหนุนแผนปรองดอง เรียกร้องรัฐบาลตกผลึกทางความคิด ดำเนินการให้เป็นรูปธรรม
ส.ส.พท.เห็นด้วยแผนปรองดองเรียกร้องรบ.ตกผลึกความคิด-ดำเนินการเป็นรูปธรรม

เมื่อเวลา 14.00 น. วันที่ 7 กันยายน ที่พรรคเพื่อไทย มีการประชุมส.ส.พรรคร่วมกับกรรมการบริหารพรรค โดยมีนายยงยุทธ วิชัยดิษฐ หัวหน้าพรรคเป็นประธาน

ภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมนายพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ โฆษกพรรคเพื่อไทย แถลงว่า ที่ประชุมได้พิจารณาข้อเสนอปรองดองของพรรคเพื่อไทย โดยที่ประชุมส่วนใหญ่เห็นด้วยในหลักการ รวมทั้งพิจารณาถึงผลสำรวจของประชาชนที่เห็นด้วยกับการปรองดองถึงร้อยละ 59

อย่างไรก็ตามยังเห็นว่าต้องรอความชัดเจนในการเริ่มต้นปรองดองของรัฐบาล และจากนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกฯ เพราะถือเป็นผู้นำในฝ่ายบริหาร แต่ยังเห็นภาพความขัดแย้งระหว่างนายกฯกับนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกฯ ที่เป็นผู้จัดการรัฐบาลอยู่ จนมองเห็นภาพความไม่ตกผลึกกัน จึงอยากเรียกร้องให้รัฐบาลตกผลึกทางความคิด และดำเนินการให้เป็นรูปธรรม

ส่วนเรื่องตัวบุคคลของพรรคเพื่อไทย ที่จะไปเจรจานั้น พรรคเห็นว่าเรื่องตัวบุคคลไม่สำคัญเท่าหลักการในการเจรจา อย่างไรก็ตามในส่วนของพรรคทั้งกรรมการบริหารและส.ส.ก็พร้อมที่จะเจรจาได้อยู่แล้ว หรือแม้แต่ทางรัฐบาลเห็นถึงความไม่สบายใจในการหารือก็แจ้งมาได้ เช่นเดียวกันกับทางเพื่อไทยหากไม่สบายใจในการพูดจากกับใครก็ต้องบอกกัน

"สมชาย"รับพท.เสียงแตกแผนปรองดองลั่นพร้อมเป็นตัวแทนเจรจาถ้าทำบ้านเมืองสงบ

นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์วันที่ 7 กันยายนถึงกรณีที่นายปลอดประสพ สุรัสวดี รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทยเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อ ว่า ในหลักการตนเห็นด้วย การได้มาทำความเข้าใจกันจะทำให้ประเทศชาติสงบสุขซึ่งเป็นยอดปราถนาของทุกคนที่ต้องการเห็นทุกฝ่ายหันหน้าเข้าหากัน ส่วนวิธีการจะทำอย่างไรนั้นให้คนที่มีส่วนเกี่ยวข้องไปดำเนินการเอง ทั้งนี้เห็นว่าปัจจัยสำคัญที่จะทำให้แผนปรองดองนี้ประสบความสำเร็จคือความจริงใจของทุกฝ่าย ขาดไปฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่ได้จะเอาเฉพาะพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์มาคุยกันเพียง 2 ฝ่ายก็ไม่ได้ มางุบงิบคุยกัน 2 พรรคมันก็ไม่สมบูรณ์ เพราะบ้านเมืองมีด้วยกันหลายฝ่าย ซึ่งแล้วแต่ว่าฝ่ายไหนที่รู้สึกว่าตัวเองไม่ได้รับเป็นธรรมหรืออยู่ในมุมมืดก็สามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้

“ให้อภัยกันได้ก็ต้องให้อภัยกัน แต่ต้องไปดูกฎหมายด้วยว่าอย่างไร เพราะกฎหมายบ้านเมืองก็ต้องมีอยู่ ซึ่งต้องดูตามความเหมาะสม”นายสมชายกล่าว

ผู้สื่อข่าวถามตัวบุคคลที่พรรคเพื่อไทยจะส่งไปเจรจา นายสมชาย กล่าวว่า ตนไม่ทราบเป็นเรื่องของพรรคเพื่อไทย แต่ตนเห็นว่าพรรคเพื่อไทยจะส่งใครก็ได้เป็นเรื่องของแต่ละฝ่าย ซึ่งต้องให้เกียรติซึ่งกันและกันจะไปตำหนิว่ากล่าวกันไม่ได้

เมื่อถามว่ายินดีทำหน้าที่หรือไม่หากได้พรรคเพื่อไทยมอบให้เป็นตัวแทนในการเจรจา นายสมชาย กล่าวว่า ก็ต้องถามพรรคเพื่อไทย ซึ่งตนไม่อยากพูดว่ายินดีหรือไม่เพราะไม่เช่นนั้นจะหาว่าตนอยากอีก แต่พูดได้เพียงว่าอะไรก็ตามที่จะทำให้ชาติชาติบ้นเมืองมีความสงบเรียบร้อยก็ต้องช่วยกันในฐานะคนไทยทุกคน คนที่เป็นผู้ใหญ่ถ้าช่วยได้ก็ต้องช่วย

เมื่อถามถึงกรณีที่มีการวิพากษ์วิจารณ์ที่มีการดึงให้องค์กรต่างประเทศมามีส่วนร่วมในแผนปรองดองทั้งที่เรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องของประเทศ นายสมชาย กล่าวว่า ในเรื่องดังกล่าวตนไม่ทราบรายละเอียด ซึ่งต้องดูว่าเป็นเรื่องภายในประเทศไทยหรือไม่ซึ่งหากเป็นเรื่องภายในประเทศการมาแทรกแซงก็ไม่เหมาะสม แต่หากเป็นเรื่องที่เขาช่วยเสนอแนะความคิดเห็นในแนวทางที่ปราถนาดีไม่ได้มาแทรกแซงอะไรก็น่าจะไม่เป็นอะไร ก็ควรที่จะลองฟังเขาดู

เมื่อถามถึงกรณีที่ส.ส.เพื่อไทยเสียงแตกในการสนับสนุนแผนปรองดอง นายสมชาย กล่าวว่า เป็นธรรมดาเพราะพรรคเพื่อไทยมีส.ส.มากเกือบ 200 คนแต่ตอนนี้เป็นเรื่องของมติพรรคไปแล้วซึ่งถือว่าเป็นจุดยืนของพรรค

ส.ส.พท.โวย"ปลอดประสพ"ทำผิดพลาดเร่งเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อ

นายสุชาติ ลายน้ำเงิน ส.ส.ลพบุรี พรรคเพื่อไทย ให้สัมภาษณ์วันที่ 7 กันยายน ก่อนการประชุมส.ส.พรรคเพื่อไทย วาระสำคัญจะเป็นการหารือถึงกรณีที่นายปลอดประสพ สุรัสวดี รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทยเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อ ว่า เป็นการตัดสินใจที่เร็วไป อีกทั้งส.ส.ในพรรคเองก็ไม่รับทราบเรื่องนี้มาก่อน จึงคาดว่าจะมีส.ส.อภิปรายประเด็นดังกล่าวอย่างกว้างขวางและคาดว่าส.ส.ส่วนใหญ่จะคัดค้านแผนดังกล่าวรวมถึงตนด้วย

อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่าตนและส.ส.พรรคเพื่อไทยไม่ต้องการสร้างความปรองดองในชาติ เราทุกคนอยากเห็นประเทศมีความปรองดอง สมานฉันท์ แต่เห็นว่าที่ผ่านมารัฐบาลไม่มีความจริงใจจะปรองดอง กระบวนการสร้างความปรองดอง รัฐบาลในฐานะผู้มีอำนาจต้องเป็นฝ่ายเริ่มหรือยื่นมือออกมาก่อน ไม่ใช่พรรคเพื่อไทยและคนเสื้อแดงที่อยู่ในฐานะผู้ถูกกระทำ การที่มีคนเสื้อแดงบาดเจ็บล้มตายจำนวนมาก ย่อมเป็นไปได้ยากที่พรรคเพื่อไทยจะเป็นฝ่ายเริ่มต้นยื่นข้อเสนอให้รัฐบาลมาปรองดองด้วย ทั้งนี้ข้อเรียกร้องของเรายังเหมือนเดิมคือจะเริ่มต้นปรองดองได้รัฐบาลต้องยุบสภา จัดให้มีการเลือกตั้งใหม่และต้องรับผิดชอบต่อความสูญเสียที่เกิดขึ้น

“สิ่งสำคัญ ต้องถามว่าที่ผ่านมานายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกฯ ได้ดำเนินการเรื่องใดบ้างที่แสดงให้เห็นว่ารัฐบาลต้องการสร้างความปรองดอง ตรงกันข้ามยังมีการไล่ล่าคนเสื้อแดง เช่น ที่จ.ลพบุรี มีการขึ้นบัญชีรายชื่อคนเสื้อแดง กว่า 2,000 คนเพื่อติดตามไล่ล่า ผมจึงคิดว่าการที่นายปลอดประสพเร่งออกมายื่นข้อเสนอปรองดอง โดยที่ไม่ถามความเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงเป็นเรื่องที่ผิดพลาด”

"ปลอดประสพ"ยอมรับถก"สุขุมพันธุ์-ทูต ตปท.-ทหาร-ยูเอ็น"คลอดแผนปรองดอง

นายปลอดประสพ สุรัสวดี รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ให้สัมภาษณ์รายการเจาะลึกทั่วไทย อินไซด์ ไทยแลนด์ ทางสถานีวิทยุ 97.0 เมกกะเฮิร์ตซ์ วันที่ 7 กันยายนยอมรับว่า แผนการปรองดอง 5 ข้อที่ได้ออกแถลงการณ์มีการหารือกันจริงระหว่างตนกับเอกอัครราชทูตต่างประเทศ,ม.ร.ว.สุขุพันธุ์ บริบัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ,นักวิชาการต่างชาติของสหประชาชาติรวมทั้งนายทหาร

ทั้งหมดทั้งปวงและทุกคนที่เข้าร่วมมีความหวังดีและรักต่อประเทศไทย อย่างไรก็ตามถึงปัจจุบันคาดว่าเกิดยาก ส่วนของตนไม่หวั่นว่าจะโดนพรรคเพื่อไทยตำหนิถึงการกระทำดังกล่าว

"ขณะนี้ผมหวังว่าประชาชนจะออกมากดดันให้เกิดการปรองดองโดยมีสื่อมวลชนเป็นตัวกลางและในการหารือดังกล่าวก็มีทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม ยกเว้นกลุ่มเสื้อเหลือและเสื้อแดง เนื่องจากสุดขั้วเกินไป"

Saturday, October 30, 2010

"ชะนี......ผู้ปลูกป่า....."

สัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมที่คุ้นหน้าคุ้นตามนุษย์มากชนิดหนึ่งนั้นก็คือ "ชะนี" เพราะชะนี
ถูกจับออกมาจากป่า  และพยายามทำให้เป็นสัตว์เลี้ยงมานานแล้ว


ชะนี นั้นเป็นสัตว์สังคม คืออาศัยอยู่เป็นครอบรัว มีพ่อ แม่ และลูก แต่ละครอบครัวจะมี
อณาเขตเป็นของตนเอง จะเป็นเขตหวงห้ามไม่ให้มีการบุกรุกจากครอบครัวอื่นโดยเด็ดขาด

ถ้ามีการบุกรุกอาณาเขต พ่อชะนีจะทำหน้าที่ป้องกัน โดยส่งเสียงร้องขู่ ลูกเมียก็คอยส่ง
กำลังใจอยู่ใกล้ ๆ โดยส่วนใหญ่แล้วจะไม่ถึงขั้นต้องลงไม้ลงมือกันหรอก เพียงส่งเสียงร้องโต้ตอบกัน
สักพักพอต่างฝ่ายต่างเหนื่อย ก็เลิกลากันไป

อาณาเขตของ "ชะนี" ครอบครัวหนึ่ง ๆ จะกว้างขวางแตกต่างกันออกไปตั้งแต่ 60 - 200
ไร่ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของป่าด้วย

ในบ้านเรามีชะนีอยู่ 3 ชนิด คือ ชะนีมงกุฎ ชะนีมือดำ และชะนีมือขาว ตัวที่คุ้นหน้า
มนุษย์นั้น คือชะนีธรรมดานี่เอง

อาหารของชะนี คือ ผลไม้ป่า ยอดไม้ ใบไม้อ่อน ดอกไม้และแมลง ดังนั้นอาชีพที่แท้
จริงของชะนีก็คือ "การปลูกป่า" เพราะชะนีกินผลไม้หลากหลายชนิด และจะถ่ายมูลในเนื้อที่กระจาย
ออกไปทั่วอาณาเขตของตน

มูลชะนี คือ ปุ๋ยธรรมชาติชั้นดี คิดกันง่าย ๆ ก็คือถ้าป่าไหนมีชะนีมาก การปลูกป่าก็ย่อม
ได้ผลดีตามธรรมชาติ และป่าที่มีชะนีอาศัยอยู่ย่อมเป็นป่าที่มีความสมบูรณ์ นอกจากปลูกป่าแล้วชะนียัง
ช่วยจัดแต่งยอดไม้ ใบไม้ แถมยังช่วยกำจัดแมลงให้ต้นไม้อีกด้วย

เวลาทำงานนั้นจะทำกันทั้งครอบครัว พ่อ แม่ และลูกเล็ก ๆ ที่เกาะติดกับหน้าอกแม่
ลูกชะนีที่มีอายุมากกว่า 8 ปี ถึงจะแยกตัวออกไปหาคู่เพื่อตั้งครอบครัวขยายอาณาเขตใหม่ ส่วนตอน
เล็ก ๆ นั้นจะกินนมแม่ตั้งแต่แรกเกิดไปจนอายุประมาณ 2 ปีโน่น จึงจะหย่านม

ส่วนการเกาะติดอยู่กับอกแม่นั้น หลังจากคลอดใหม่ไปถึงประมาณ 2 เดือน ลูกชะนีจะ
เกาะติดอกแม่ตลอด และจะกินนมอย่างเดียวไม่ทำอะไรเลย

แต่หลังจาก 2 เดือน จะเริ่มมีอาการอย่างอื่นบ้าง เช่น ห้อยโหน ร้องเรียก ทำความสะ
อาดร่างกายความจริงลูกชะนีก็ถือความสะดวกเป็นใหญ่ในการเกาะติดอยู่กับอกแม่ เพราะจะได้ไปไหน
มาไหนและกินนมได้โดยสะดวก เลิกกินนมแล้วนั่นแหละจึงเลิกเกาะติดอกแม่

แต่แม่ชะนีก็ต้องฝึกให้ลูกไปไหน ๆ ด้วยตนเองบ้าง  เพื่อช่วยให้รู้จักวิธีและให้กล้ามเนื้อ
ของลูกแข็งแรง ชะนีจะเคลื่อนที่ไปโดยการห้อยโหนไปตามยอดไม้ บางครั้งถ้ายอดไม้อยู่ห่างกันเกินไป
แม่ชะนีจะยึดกิ่งไม้ทำตัวเองเป็นสะพานให้ลูกข้ามไปได้

ลูกชะนีก็เช่นเดียวกับลูกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่น ๆ คือ ชอบเล่นสนุก พูดตรง ๆ
ก็คือซนนั่นแหละ บางทีก็เล่นตามลำพัง หกคะเมน ตีลังกา ห้อยโหน กระโดดจากกิ่งไม้กิ่งโน้นมากิ่งนี้
บางทีไล่จับนก หรือสัตว์เล็ก ๆ พอเล่นตัวเดียวเบื่อแล้วก็จะมาแล่นกํบพี่ ๆ หรือพ่อ แม่

โดยปกติชะนีรักความสะอาด เพราะเวลาที่พวกเขาโหนไปตามกิ่งไม้นั้น จะถูกมด เห็บ
หรือแมลง่ต่าง ๆ เกาะติดตามลำตัว ชะนีจึงมักจะใช้เวลาทำความสะอาดร่างกายอยู่บ่อย ๆ บางทีก็ทำ
เองแต่ส่วนใหญ่แล้วจะหลัดกันทำความสะอาดให้กันและกัน

ส่วนลูกชะนีก็นอนให้ พ่อ แม่ ทำให้สบาย ๆ การทำความสะอาดร่างกายให้กันและกันนี่
แหละทำให้ครอบครัวของชะนีมีความสัมพันธ์กันแน่นแฟ้นเพิ่มขึ้น เปฌนครอบครัวที่มีความรัก ความห่วงใยกันอย่างลึกซึ้ง

และความสัมพันธ์ทั้งหลายนั้นจะขาดสะบั้นลงด้วย "ลูกปืน" ราคาถูก ๆ เพียงนัดเดียว
เพราะความนิยมเลี้ยงชะนีของคน การที่จะได้ลูกชะนีออกมาจากป่านั้นมีวิธีเดียว คือ ต้องยิงแม่ชะนีเพื่อ
จะจับลูกที่ติดอยู่กับอกแม่ได้ ไม่ต้องนึกว่าลูกชะนีจะตกในประสาทเสีย และชะตากรรมจะเป็นเช่นไร

ความสัมพันธ์ของครอบครัวสัตว์ป่านั้นมีมากเกินกว่าที่เราจะนึกถึง

การนำเขามาเลี้ยงแม้ว่าเราจะทุ่มเทความรักให้พวกเขามากแค่ไหน ก็ไม่สามารถที่จะ
ชดเชยความรัก ความสัมพันธ์ของเขาที่สูญเสียไปแล้วได้

หน้าที่ของชะนี คือ การปลูกป่านั้นสำคัญ และมีประโยชน์มากต่อธรรมชาติในอนาคต
เราอาจมีป่าที่อุดมสมบูรณ์นะครับ

"ถ้ายังมีชะนีรอดชีวิต หลงเหลืออยู่ในป่าบ้าง"

"ชะนี......ผู้ปลูกป่า....."

สัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมที่คุ้นหน้าคุ้นตามนุษย์มากชนิดหนึ่งนั้นก็คือ "ชะนี" เพราะชะนี
ถูกจับออกมาจากป่า  และพยายามทำให้เป็นสัตว์เลี้ยงมานานแล้ว


ชะนี นั้นเป็นสัตว์สังคม คืออาศัยอยู่เป็นครอบรัว มีพ่อ แม่ และลูก แต่ละครอบครัวจะมี
อณาเขตเป็นของตนเอง จะเป็นเขตหวงห้ามไม่ให้มีการบุกรุกจากครอบครัวอื่นโดยเด็ดขาด

ถ้ามีการบุกรุกอาณาเขต พ่อชะนีจะทำหน้าที่ป้องกัน โดยส่งเสียงร้องขู่ ลูกเมียก็คอยส่ง
กำลังใจอยู่ใกล้ ๆ โดยส่วนใหญ่แล้วจะไม่ถึงขั้นต้องลงไม้ลงมือกันหรอก เพียงส่งเสียงร้องโต้ตอบกัน
สักพักพอต่างฝ่ายต่างเหนื่อย ก็เลิกลากันไป

อาณาเขตของ "ชะนี" ครอบครัวหนึ่ง ๆ จะกว้างขวางแตกต่างกันออกไปตั้งแต่ 60 - 200
ไร่ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของป่าด้วย

ในบ้านเรามีชะนีอยู่ 3 ชนิด คือ ชะนีมงกุฎ ชะนีมือดำ และชะนีมือขาว ตัวที่คุ้นหน้า
มนุษย์นั้น คือชะนีธรรมดานี่เอง

อาหารของชะนี คือ ผลไม้ป่า ยอดไม้ ใบไม้อ่อน ดอกไม้และแมลง ดังนั้นอาชีพที่แท้
จริงของชะนีก็คือ "การปลูกป่า" เพราะชะนีกินผลไม้หลากหลายชนิด และจะถ่ายมูลในเนื้อที่กระจาย
ออกไปทั่วอาณาเขตของตน

มูลชะนี คือ ปุ๋ยธรรมชาติชั้นดี คิดกันง่าย ๆ ก็คือถ้าป่าไหนมีชะนีมาก การปลูกป่าก็ย่อม
ได้ผลดีตามธรรมชาติ และป่าที่มีชะนีอาศัยอยู่ย่อมเป็นป่าที่มีความสมบูรณ์ นอกจากปลูกป่าแล้วชะนียัง
ช่วยจัดแต่งยอดไม้ ใบไม้ แถมยังช่วยกำจัดแมลงให้ต้นไม้อีกด้วย

เวลาทำงานนั้นจะทำกันทั้งครอบครัว พ่อ แม่ และลูกเล็ก ๆ ที่เกาะติดกับหน้าอกแม่
ลูกชะนีที่มีอายุมากกว่า 8 ปี ถึงจะแยกตัวออกไปหาคู่เพื่อตั้งครอบครัวขยายอาณาเขตใหม่ ส่วนตอน
เล็ก ๆ นั้นจะกินนมแม่ตั้งแต่แรกเกิดไปจนอายุประมาณ 2 ปีโน่น จึงจะหย่านม

ส่วนการเกาะติดอยู่กับอกแม่นั้น หลังจากคลอดใหม่ไปถึงประมาณ 2 เดือน ลูกชะนีจะ
เกาะติดอกแม่ตลอด และจะกินนมอย่างเดียวไม่ทำอะไรเลย

แต่หลังจาก 2 เดือน จะเริ่มมีอาการอย่างอื่นบ้าง เช่น ห้อยโหน ร้องเรียก ทำความสะ
อาดร่างกายความจริงลูกชะนีก็ถือความสะดวกเป็นใหญ่ในการเกาะติดอยู่กับอกแม่ เพราะจะได้ไปไหน
มาไหนและกินนมได้โดยสะดวก เลิกกินนมแล้วนั่นแหละจึงเลิกเกาะติดอกแม่

แต่แม่ชะนีก็ต้องฝึกให้ลูกไปไหน ๆ ด้วยตนเองบ้าง  เพื่อช่วยให้รู้จักวิธีและให้กล้ามเนื้อ
ของลูกแข็งแรง ชะนีจะเคลื่อนที่ไปโดยการห้อยโหนไปตามยอดไม้ บางครั้งถ้ายอดไม้อยู่ห่างกันเกินไป
แม่ชะนีจะยึดกิ่งไม้ทำตัวเองเป็นสะพานให้ลูกข้ามไปได้

ลูกชะนีก็เช่นเดียวกับลูกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่น ๆ คือ ชอบเล่นสนุก พูดตรง ๆ
ก็คือซนนั่นแหละ บางทีก็เล่นตามลำพัง หกคะเมน ตีลังกา ห้อยโหน กระโดดจากกิ่งไม้กิ่งโน้นมากิ่งนี้
บางทีไล่จับนก หรือสัตว์เล็ก ๆ พอเล่นตัวเดียวเบื่อแล้วก็จะมาแล่นกํบพี่ ๆ หรือพ่อ แม่

โดยปกติชะนีรักความสะอาด เพราะเวลาที่พวกเขาโหนไปตามกิ่งไม้นั้น จะถูกมด เห็บ
หรือแมลง่ต่าง ๆ เกาะติดตามลำตัว ชะนีจึงมักจะใช้เวลาทำความสะอาดร่างกายอยู่บ่อย ๆ บางทีก็ทำ
เองแต่ส่วนใหญ่แล้วจะหลัดกันทำความสะอาดให้กันและกัน

ส่วนลูกชะนีก็นอนให้ พ่อ แม่ ทำให้สบาย ๆ การทำความสะอาดร่างกายให้กันและกันนี่
แหละทำให้ครอบครัวของชะนีมีความสัมพันธ์กันแน่นแฟ้นเพิ่มขึ้น เปฌนครอบครัวที่มีความรัก ความห่วงใยกันอย่างลึกซึ้ง

และความสัมพันธ์ทั้งหลายนั้นจะขาดสะบั้นลงด้วย "ลูกปืน" ราคาถูก ๆ เพียงนัดเดียว
เพราะความนิยมเลี้ยงชะนีของคน การที่จะได้ลูกชะนีออกมาจากป่านั้นมีวิธีเดียว คือ ต้องยิงแม่ชะนีเพื่อ
จะจับลูกที่ติดอยู่กับอกแม่ได้ ไม่ต้องนึกว่าลูกชะนีจะตกในประสาทเสีย และชะตากรรมจะเป็นเช่นไร

ความสัมพันธ์ของครอบครัวสัตว์ป่านั้นมีมากเกินกว่าที่เราจะนึกถึง

การนำเขามาเลี้ยงแม้ว่าเราจะทุ่มเทความรักให้พวกเขามากแค่ไหน ก็ไม่สามารถที่จะ
ชดเชยความรัก ความสัมพันธ์ของเขาที่สูญเสียไปแล้วได้

หน้าที่ของชะนี คือ การปลูกป่านั้นสำคัญ และมีประโยชน์มากต่อธรรมชาติในอนาคต
เราอาจมีป่าที่อุดมสมบูรณ์นะครับ

"ถ้ายังมีชะนีรอดชีวิต หลงเหลืออยู่ในป่าบ้าง"

"ชะนี......ผู้ปลูกป่า....."

                      สัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมที่คุ้นหน้าคุ้นตามนุษย์มากชนิดหนึ่งนั้นก็คือ  "ชะนี" เพราะชะนี
ถูกจับออกมาจากป่า  และพยายามทำให้เป็นสัตว์เลี้ยงมานานแล้ว

                       ชะนี นั้นเป็นสัตว์สังคม  คืออาศัยอยู่เป็นครอบรัว  มีพ่อ  แม่  และลูก  แต่ละครอบครัวจะมี
อณาเขตเป็นของตนเอง  จะเป็นเขตหวงห้ามไม่ให้มีการบุกรุกจากครอบครัวอื่นโดยเด็ดขาด

                        ถ้ามีการบุกรุกอาณาเขต  พ่อชะนีจะทำหน้าที่ป้องกัน โดยส่งเสียงร้องขู่  ลูกเมียก็คอยส่ง
กำลังใจอยู่ใกล้ ๆ   โดยส่วนใหญ่แล้วจะไม่ถึงขั้นต้องลงไม้ลงมือกันหรอก   เพียงส่งเสียงร้องโต้ตอบกัน
สักพักพอต่างฝ่ายต่างเหนื่อย  ก็เลิกลากันไป

                        อาณาเขตของ "ชะนี"  ครอบครัวหนึ่ง ๆ  จะกว้างขวางแตกต่างกันออกไปตั้งแต่ 60 - 200
ไร่   ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของป่าด้วย

                        ในบ้านเรามีชะนีอยู่ 3 ชนิด คือ  ชะนีมงกุฎ   ชะนีมือดำ   และชะนีมือขาว   ตัวที่คุ้นหน้า
มนุษย์นั้น คือชะนีธรรมดานี่เอง

                         อาหารของชะนี  คือ  ผลไม้ป่า  ยอดไม้  ใบไม้อ่อน  ดอกไม้และแมลง  ดังนั้นอาชีพที่แท้
จริงของชะนีก็คือ  "การปลูกป่า"   เพราะชะนีกินผลไม้หลากหลายชนิด   และจะถ่ายมูลในเนื้อที่กระจาย
ออกไปทั่วอาณาเขตของตน

                        มูลชะนี  คือ  ปุ๋ยธรรมชาติชั้นดี  คิดกันง่าย ๆ ก็คือถ้าป่าไหนมีชะนีมาก  การปลูกป่าก็ย่อม
ได้ผลดีตามธรรมชาติ  และป่าที่มีชะนีอาศัยอยู่ย่อมเป็นป่าที่มีความสมบูรณ์  นอกจากปลูกป่าแล้วชะนียัง
ช่วยจัดแต่งยอดไม้  ใบไม้  แถมยังช่วยกำจัดแมลงให้ต้นไม้อีกด้วย

                         เวลาทำงานนั้นจะทำกันทั้งครอบครัว  พ่อ  แม่  และลูกเล็ก ๆ ที่เกาะติดกับหน้าอกแม่
ลูกชะนีที่มีอายุมากกว่า 8 ปี   ถึงจะแยกตัวออกไปหาคู่เพื่อตั้งครอบครัวขยายอาณาเขตใหม่   ส่วนตอน
เล็ก ๆ นั้นจะกินนมแม่ตั้งแต่แรกเกิดไปจนอายุประมาณ 2 ปีโน่น จึงจะหย่านม

                         ส่วนการเกาะติดอยู่กับอกแม่นั้น  หลังจากคลอดใหม่ไปถึงประมาณ 2 เดือน  ลูกชะนีจะ
เกาะติดอกแม่ตลอด  และจะกินนมอย่างเดียวไม่ทำอะไรเลย

                         แต่หลังจาก 2 เดือน จะเริ่มมีอาการอย่างอื่นบ้าง  เช่น  ห้อยโหน  ร้องเรียก  ทำความสะ
อาดร่างกาย  ความจริงลูกชะนีก็ถือความสะดวกเป็นใหญ่ในการเกาะติดอยู่กับอกแม่  เพราะจะได้ไปไหน
มาไหนและกินนมได้โดยสะดวก  เลิกกินนมแล้วนั่นแหละจึงเลิกเกาะติดอกแม่

                         แต่แม่ชะนีก็ต้องฝึกให้ลูกไปไหน ๆ ด้วยตนเองบ้าง  เพื่อช่วยให้รู้จักวิธีและให้กล้ามเนื้อ
ของลูกแข็งแรง  ชะนีจะเคลื่อนที่ไปโดยการห้อยโหนไปตามยอดไม้  บางครั้งถ้ายอดไม้อยู่ห่างกันเกินไป
แม่ชะนีจะยึดกิ่งไม้ทำตัวเองเป็นสะพานให้ลูกข้ามไปได้

                         ลูกชะนีก็เช่นเดียวกับลูกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่น ๆ คือ  ชอบเล่นสนุก พูดตรง ๆ
ก็คือซนนั่นแหละ  บางทีก็เล่นตามลำพัง  หกคะเมน  ตีลังกา  ห้อยโหน  กระโดดจากกิ่งไม้กิ่งโน้นมากิ่งนี้
บางทีไล่จับนก  หรือสัตว์เล็ก ๆ   พอเล่นตัวเดียวเบื่อแล้วก็จะมาแล่นกํบพี่ ๆ หรือพ่อ  แม่

                          โดยปกติชะนีรักความสะอาด  เพราะเวลาที่พวกเขาโหนไปตามกิ่งไม้นั้น  จะถูกมด  เห็บ
หรือแมลง่ต่าง ๆ เกาะติดตามลำตัว  ชะนีจึงมักจะใช้เวลาทำความสะอาดร่างกายอยู่บ่อย ๆ  บางทีก็ทำ
เอง  แต่ส่วนใหญ่แล้วจะหลัดกันทำความสะอาดให้กันและกัน

                           ส่วนลูกชะนีก็นอนให้ พ่อ  แม่  ทำให้สบาย ๆ การทำความสะอาดร่างกายให้กันและกันนี่
แหละทำให้ครอบครัวของชะนีมีความสัมพันธ์กันแน่นแฟ้นเพิ่มขึ้น  เปฌนครอบครัวที่มีความรัก  ความห่วงใยกันอย่างลึกซึ้ง

                           และความสัมพันธ์ทั้งหลายนั้นจะขาดสะบั้นลงด้วย "ลูกปืน"  ราคาถูก ๆ เพียงนัดเดียว
เพราะความนิยมเลี้ยงชะนีของคน  การที่จะได้ลูกชะนีออกมาจากป่านั้นมีวิธีเดียว คือ ต้องยิงแม่ชะนีเพื่อ
จะจับลูกที่ติดอยู่กับอกแม่ได้  ไม่ต้องนึกว่าลูกชะนีจะตกในประสาทเสีย  และชะตากรรมจะเป็นเช่นไร

                           ความสัมพันธ์ของครอบครัวสัตว์ป่านั้นมีมากเกินกว่าที่เราจะนึกถึง

                            การนำเขามาเลี้ยงแม้ว่าเราจะทุ่มเทความรักให้พวกเขามากแค่ไหน   ก็ไม่สามารถที่จะ
ชดเชยความรัก  ความสัมพันธ์ของเขาที่สูญเสียไปแล้วได้

                            หน้าที่ของชะนี คือ  การปลูกป่านั้นสำคัญ  และมีประโยชน์มากต่อธรรมชาติในอนาคต
เราอาจมีป่าที่อุดมสมบูรณ์นะครับ 

                         "ถ้ายังมีชะนีรอดชีวิต  หลงเหลืออยู่ในป่าบ้าง"

                         

เผด็จการ กับ ประชาธิปไตย จะปรองดองกันได้อย่างไร?

แผนปรองดอง 5 ข้อ ของเพื่อไทย

นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ หัวหน้าพรรคเพื่อไทย พร้อมด้วย นายคณวัฒน์ วศินสังวร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย น.ส.สุณีย์ เหลืองวิจิตร เลขาธิการพรรคเพื่อไทย และนายพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ โฆษกพรรคเพื่อไทย ร่วมกันแถลงข่าวหลังการประชุมกรรมการบริหารพรรค โดยพรรคตอบรับข้อเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อของนายปลอดประสพ สุรัสวดี รองหัวหน้าพรรค ทั้งนี้ วาระสำคัญของการประชุมวันนี้คือการสร้างความปรองดองแห่งชาติ โดยพรรคยืนยันจุดยืนของพรรคมาโดยตลอด คือ ประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม อีกทั้งพรรคเห็นว่าความแตกแยกของบ้านเมืองที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันแก้ไข กรรมการบริหารพรรคจึงมีมติดังนี้

1.พรรคขอสนับสนุนแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ เพื่อนำความสุขกลับมาสู่ประเทศไทย
2.พรรคขอเรียกร้องให้ทุกภาคส่วนร่วมกันสร้างความเป็นประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียมกัน ให้เกิดขึ้นในประเทศ
3.พรรคไม่สนับสนุนการใช้ความรุนแรงและการสร้างสถานการณ์เพื่อประโยชน์ทางการเมือง
4.พรรคขอเรียกร้องอย่างจริงจังให้ทุกฝ่ายร่วมกันถวายความจงรักภัดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นที่ประจักษ์และหยุดกระทำการใดๆอันอาจเป็นการที่ระคายเคืองเบื้องพระยุคลบาท
5.ขั้นตอนต่อไปของพรรค หัวหน้าพรรคและคณะผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจะเป็นผู้ดำเนินการในการเจรจาและติดต่อประสานงานเพื่อให้แนวทางการปรองดองเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย

ขณะเดียวกัน ด้านนายพร้อมพงศ์ ระบุว่า ในวันที่ 6 กันยายน กรรมการบริหารพรรคจะนำมติกรรมการบริหารพรรคเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประสานกิจกรรมพรรค ที่มี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นประธานเพื่อหารือก่อน เพื่อกำหนดบุคคลที่จะไปประสานงานกับรัฐบาล และเมื่อสรุปแล้วจะนำเรื่องนี้เข้าสู่ที่ประชุม ส.ส.พรรคในวันที่ 7 กันยายน นี้ต่อไป

เผด็จการ กับ ประชาธิปไตย จะปรองดองกันได้อย่างไร?

แผนปรองดอง 5 ข้อ ของเพื่อไทย

นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ หัวหน้าพรรคเพื่อไทย พร้อมด้วย นายคณวัฒน์ วศินสังวร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย น.ส.สุณีย์ เหลืองวิจิตร เลขาธิการพรรคเพื่อไทย และนายพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ โฆษกพรรคเพื่อไทย ร่วมกันแถลงข่าวหลังการประชุมกรรมการบริหารพรรค โดยพรรคตอบรับข้อเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อของนายปลอดประสพ สุรัสวดี รองหัวหน้าพรรค ทั้งนี้ วาระสำคัญของการประชุมวันนี้คือการสร้างความปรองดองแห่งชาติ โดยพรรคยืนยันจุดยืนของพรรคมาโดยตลอด คือ ประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม อีกทั้งพรรคเห็นว่าความแตกแยกของบ้านเมืองที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันแก้ไข กรรมการบริหารพรรคจึงมีมติดังนี้

1.พรรคขอสนับสนุนแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ เพื่อนำความสุขกลับมาสู่ประเทศไทย
2.พรรคขอเรียกร้องให้ทุกภาคส่วนร่วมกันสร้างความเป็นประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียมกัน ให้เกิดขึ้นในประเทศ
3.พรรคไม่สนับสนุนการใช้ความรุนแรงและการสร้างสถานการณ์เพื่อประโยชน์ทางการเมือง
4.พรรคขอเรียกร้องอย่างจริงจังให้ทุกฝ่ายร่วมกันถวายความจงรักภัดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นที่ประจักษ์และหยุดกระทำการใดๆอันอาจเป็นการที่ระคายเคืองเบื้องพระยุคลบาท
5.ขั้นตอนต่อไปของพรรค หัวหน้าพรรคและคณะผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจะเป็นผู้ดำเนินการในการเจรจาและติดต่อประสานงานเพื่อให้แนวทางการปรองดองเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย

ขณะเดียวกัน ด้านนายพร้อมพงศ์ ระบุว่า ในวันที่ 6 กันยายน กรรมการบริหารพรรคจะนำมติกรรมการบริหารพรรคเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประสานกิจกรรมพรรค ที่มี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นประธานเพื่อหารือก่อน เพื่อกำหนดบุคคลที่จะไปประสานงานกับรัฐบาล และเมื่อสรุปแล้วจะนำเรื่องนี้เข้าสู่ที่ประชุม ส.ส.พรรคในวันที่ 7 กันยายน นี้ต่อไป

เผด็จการ กะ ประชาธิปไตย จะปรองดองกันได้อย่างไร ?

แผนปรองดอง 5 ข้อ ของเพื่อไทย

นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ หัวหน้าพรรคเพื่อไทย พร้อมด้วย นายคณวัฒน์ วศินสังวร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย น.ส.สุณีย์ เหลืองวิจิตร เลขาธิการพรรคเพื่อไทย และนายพร้อมพงศ์ นพฤทธิ์ โฆษกพรรคเพื่อไทย ร่วมกันแถลงข่าวหลังการประชุมกรรมการบริหารพรรค โดยพรรคตอบรับข้อเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อของนายปลอดประสพ สุรัสวดี รองหัวหน้าพรรค
ทั้งนี้ วาระสำคัญของการประชุมวันนี้คือการสร้างความปรองดองแห่งชาติ โดยพรรคยืนยันจุดยืนของพรรคมาโดยตลอด คือ ประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม อีกทั้งพรรคเห็นว่าความแตกแยกของบ้านเมืองที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันแก้ไข กรรมการบริหารพรรคจึงมีมติดังนี้

1.พรรคขอสนับสนุนแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ เพื่อนำความสุขกลับมาสู่ประเทศไทย
2.พรรคขอเรียกร้องให้ทุกภาคส่วนร่วมกันสร้างความเป็นประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียมกัน ให้เกิดขึ้นในประเทศ
3.พรรคไม่สนับสนุนการใช้ความรุนแรงและการสร้างสถานการณ์เพื่อประโยชน์ทางการเมือง
4.พรรคขอเรียกร้องอย่างจริงจังให้ทุกฝ่ายร่วมกันถวายความจงรักภัดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นที่ประจักษ์และหยุดกระทำการใดๆอันอาจเป็นการที่ระคายเคืองเบื้องพระยุคลบาท
5.ขั้นตอนต่อไปของพรรค หัวหน้าพรรคและคณะผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจะเป็นผู้ดำเนินการในการเจรจาและติดต่อประสานงานเพื่อให้แนวทางการปรองดองเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย

ขณะเดียวกัน ด้านนายพร้อมพงศ์ ระบุว่า ในวันที่ 6 กันยายน กรรมการบริหารพรรคจะนำมติกรรมการบริหารพรรคเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประสานกิจกรรมพรรค ที่มี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นประธานเพื่อหารือก่อน เพื่อกำหนดบุคคลที่จะไปประสานงานกับรัฐบาล และเมื่อสรุปแล้วจะนำเรื่องนี้เข้าสู่ที่ประชุม ส.ส.พรรคในวันที่ 7 กันยายน นี้ต่อไป

คนหาตัวตนให้พบ ว่าเราเป็นเราที่แท้จริง

ในตัวเรามีคนอยู่ "สามคน "
ณ วัดบ้านไร่แห่งหนึ่ง หลวงตาเพิ่งกลับจากการบิณฑบาตเห็นลูกศิษย์วัดนั่งร้องไห้สะอึกสะอื้น จึงเข้าไป ถามไถ่ว่าเป็นอะไร ลูกศิษย์ตอบกลับมาว่า "ผมถูกใส่ร้าย ผมไม่ได้ขโมยเงินในหอพระ แต่ผมเข้าไปปัดกวาดเช็ดถูบ่อย ๆ ทุกคนก็หาว่าผมเป็นขโมย ไม่มีใครเชื่อผมเลย ฮือ ฮือ"

หลวงตานั่งลงข้าง ๆ พยักหน้าเข้าใจแล้วสอนลูกศิษย์ว่า
"เจ้ารู้ไหม ในตัวเรามีคนอยู่สามคน คนแรกคือ คนที่เราอยากจะเป็น คนที่สองคือ คนที่คนอื่นคิดว่าเราเป็น คนที่สามคือ ตัวเราที่เป็นเราจริง ๆ "

ลูกศิษย์หยุดร้องไห้ นิ่งฟังหลวงตา
คนเราล้วนมีความฝัน ความทะยานอยาก ตามประสาปุถุชนทั่วไป ไม่ใช่สิ่งเลวร้าย บางครั้งความฝันก็เป็นสิ่งสวยงาม เป็นพลังที่ทำให้เราก้าวเดิน เช่น บางคนอยากเป็นนักร้อง เป็นนักมวย เป็นดารา ถ้าถึงจุดหมายเราก็จะรู้สึกว่าโลกนี้ช่างสว่าง ไสวสวยงาม ดังนั้นเราควรมีความฝันไว้ประดับตน เพื่อเป็นเครื่องหล่อเลี้ยง หัวใจ"

"มาถึงไอ้ตัวที่สอง จะเป็นเราแบบที่คนอื่นยัดเยียดให้เป็น บางครั้งก็ยัดเยียด ว่าเราดีเลิศ จนเราอาย เพราะจิตสำนึกเรารู้ดีว่ามันไม่จริงหรอก แต่เราก็ยิ้มรับ แต่บางครั้งไอ้ตัวที่สองนี้ก็มหาอัปลักษณ์ จนไม่อยากจะนึกถึง ซ้ำร้ายยังเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เพราะมันเป็นโลกในมือคนอื่น มันเป็นสิ่งแปลกปลอมที่คนอื่น ยื่นให้" เจ้าต้องจำไว้นะ ทุกครั้งที่เราว่าคนอื่นเลว คนอื่นไม่ดี ก็เท่ากับเราประจานความมืดดำในใจตัวเองออกมา เห็นสิ่งไม่ดีของใครจงเตือนตัวเองว่าอย่าทำ อย่าเลียนแบบ

นั่นแหละวิถีของนักปราชญ์ ถ้าเอาไปว่าร้ายนินทาเรียกว่าวิถีของคนพาล"
"แล้วเราต้องทำตัวอย่างไรละครับในเมื่อเราต้องเจอคนเหล่านั้นเรื่อย ๆ " ลูกศิษย์หยุดร้องไห้แล้ว เริ่มสนทนาโต้ตอบหลวงตา
เจ้าต้องทำความเข้าใจจิตใจมนุษย์ เรียนรู้ว่าความเข้าใจผิดเกิดขึ้นได้ เราห้ามใจใครไม่ได้ สิ่งใดที่เราไม่ได้ทำ ไม่ได้คิด ไม่ได้เป็น แต่คนอื่นคอยยัดเยียดให้เรา เราก็ไม่ควรให้ความสำคัญ เพราะเราสัมผัสได้ว่าสิ่งนั้นไม่มีอยู่จริง ใจเราควรสงบนิ่ง ยังไม่ต้องชำระ ใจคนอื่นต่างหากที่ควรซักฟอกให้ขาวสะอาดกว่าที่เป็นอยู่ เขาเหล่านั้นเป็นบุคคลที่น่าสงสาร มีเวลามองคนอื่น แต่ไม่มีเวลามองตัวเอง จงแผ่เมตตาให้เขาไป เข้าใจใช่ไหม"
"เข้าใจครับหลวงตา" เด็กน้อยยิ้มมีความสุขอีกครั้ง

คนหาตัวตนให้พบ ว่าเราเป็นเราที่แท้จริง

ในตัวเรามีคนอยู่ "สามคน "
ณ วัดบ้านไร่แห่งหนึ่ง หลวงตาเพิ่งกลับจากการบิณฑบาตเห็นลูกศิษย์วัดนั่งร้องไห้สะอึกสะอื้น จึงเข้าไป ถามไถ่ว่าเป็นอะไร ลูกศิษย์ตอบกลับมาว่า "ผมถูกใส่ร้าย ผมไม่ได้ขโมยเงินในหอพระ แต่ผมเข้าไปปัดกวาดเช็ดถูบ่อย ๆ ทุกคนก็หาว่าผมเป็นขโมย ไม่มีใครเชื่อผมเลย ฮือ ฮือ"

หลวงตานั่งลงข้าง ๆ พยักหน้าเข้าใจแล้วสอนลูกศิษย์ว่า
"เจ้ารู้ไหม ในตัวเรามีคนอยู่สามคน คนแรกคือ คนที่เราอยากจะเป็น คนที่สองคือ คนที่คนอื่นคิดว่าเราเป็น คนที่สามคือ ตัวเราที่เป็นเราจริง ๆ "

ลูกศิษย์หยุดร้องไห้ นิ่งฟังหลวงตา
คนเราล้วนมีความฝัน ความทะยานอยาก ตามประสาปุถุชนทั่วไป ไม่ใช่สิ่งเลวร้าย บางครั้งความฝันก็เป็นสิ่งสวยงาม เป็นพลังที่ทำให้เราก้าวเดิน เช่น บางคนอยากเป็นนักร้อง เป็นนักมวย เป็นดารา ถ้าถึงจุดหมายเราก็จะรู้สึกว่าโลกนี้ช่างสว่าง ไสวสวยงาม ดังนั้นเราควรมีความฝันไว้ประดับตน เพื่อเป็นเครื่องหล่อเลี้ยง หัวใจ"

"มาถึงไอ้ตัวที่สอง จะเป็นเราแบบที่คนอื่นยัดเยียดให้เป็น บางครั้งก็ยัดเยียด ว่าเราดีเลิศ จนเราอาย เพราะจิตสำนึกเรารู้ดีว่ามันไม่จริงหรอก แต่เราก็ยิ้มรับ แต่บางครั้งไอ้ตัวที่สองนี้ก็มหาอัปลักษณ์ จนไม่อยากจะนึกถึง ซ้ำร้ายยังเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เพราะมันเป็นโลกในมือคนอื่น มันเป็นสิ่งแปลกปลอมที่คนอื่น ยื่นให้" เจ้าต้องจำไว้นะ ทุกครั้งที่เราว่าคนอื่นเลว คนอื่นไม่ดี ก็เท่ากับเราประจานความมืดดำในใจตัวเองออกมา เห็นสิ่งไม่ดีของใครจงเตือนตัวเองว่าอย่าทำ อย่าเลียนแบบ

นั่นแหละวิถีของนักปราชญ์ ถ้าเอาไปว่าร้ายนินทาเรียกว่าวิถีของคนพาล"
"แล้วเราต้องทำตัวอย่างไรละครับในเมื่อเราต้องเจอคนเหล่านั้นเรื่อย ๆ " ลูกศิษย์หยุดร้องไห้แล้ว เริ่มสนทนาโต้ตอบหลวงตา
เจ้าต้องทำความเข้าใจจิตใจมนุษย์ เรียนรู้ว่าความเข้าใจผิดเกิดขึ้นได้ เราห้ามใจใครไม่ได้ สิ่งใดที่เราไม่ได้ทำ ไม่ได้คิด ไม่ได้เป็น แต่คนอื่นคอยยัดเยียดให้เรา เราก็ไม่ควรให้ความสำคัญ เพราะเราสัมผัสได้ว่าสิ่งนั้นไม่มีอยู่จริง ใจเราควรสงบนิ่ง ยังไม่ต้องชำระ ใจคนอื่นต่างหากที่ควรซักฟอกให้ขาวสะอาดกว่าที่เป็นอยู่ เขาเหล่านั้นเป็นบุคคลที่น่าสงสาร มีเวลามองคนอื่น แต่ไม่มีเวลามองตัวเอง จงแผ่เมตตาให้เขาไป เข้าใจใช่ไหม"
"เข้าใจครับหลวงตา" เด็กน้อยยิ้มมีความสุขอีกครั้ง

คนหาตัวตนให้พบ ว่าเราเป็นเราที่แท้จริง

ในตัวเรามีคนอยู่ "สามคน "

ณ วัดบ้านไร่แห่งหนึ่ง หลวงตาเพิ่งกลับจากการบิณฑบาตเห็นลูกศิษย์วัดนั่งร้องไห้สะอึกสะอื้น จึงเข้าไป ถามไถ่ว่าเป็นอะไร ลูกศิษย์ตอบกลับมาว่า "ผมถูกใส่ร้าย ผมไม่ได้ขโมยเงินในหอพระ แต่ผมเข้าไปปัดกวาดเช็ดถูบ่อย ๆ ทุกคนก็หาว่าผมเป็นขโมย ไม่มีใครเชื่อผมเลย ฮือ ฮือ"

หลวงตานั่งลงข้าง ๆ พยักหน้าเข้าใจแล้วสอนลูกศิษย์ว่า
"เจ้ารู้ไหม ในตัวเรามีคนอยู่สามคน คนแรกคือ คนที่เราอยากจะเป็น คนที่สองคือ คนที่คนอื่นคิดว่าเราเป็น คนที่สามคือ ตัวเราที่เป็นเราจริง ๆ "

ลูกศิษย์หยุดร้องไห้ นิ่งฟังหลวงตา

คนเราล้วนมีความฝัน ความทะยานอยาก ตามประสาปุถุชนทั่วไป ไม่ใช่สิ่งเลวร้าย บางครั้งความฝันก็เป็นสิ่งสวยงาม เป็นพลังที่ทำให้เราก้าวเดิน เช่น บางคนอยากเป็นนักร้อง เป็นนักมวย เป็นดารา ถ้าถึงจุดหมายเราก็จะรู้สึกว่าโลกนี้ช่างสว่าง ไสวสวยงาม ดังนั้นเราควรมีความฝันไว้ประดับตน เพื่อเป็นเครื่องหล่อเลี้ยง หัวใจ"

"มาถึงไอ้ตัวที่สอง จะเป็นเราแบบที่คนอื่นยัดเยียดให้เป็น บางครั้งก็ยัดเยียด ว่าเราดีเลิศ จนเราอาย เพราะจิตสำนึกเรารู้ดีว่ามันไม่จริงหรอก แต่เราก็ยิ้มรับ แต่บางครั้งไอ้ตัวที่สองนี้ก็มหาอัปลักษณ์ จนไม่อยากจะนึกถึง ซ้ำร้ายยังเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เพราะมันเป็นโลกในมือคนอื่น มันเป็นสิ่งแปลกปลอมที่คนอื่น ยื่นให้" เจ้าต้องจำไว้นะ ทุกครั้งที่เราว่าคนอื่นเลว คนอื่นไม่ดี ก็เท่ากับเราประจานความมืดดำในใจตัวเองออกมา เห็นสิ่งไม่ดีของใครจงเตือนตัวเองว่าอย่าทำ อย่าเลียนแบบ

นั่นแหละวิถีของนักปราชญ์ ถ้าเอาไปว่าร้ายนินทาเรียกว่าวิถีของคนพาล"

"แล้วเราต้องทำตัวอย่างไรละครับในเมื่อเราต้องเจอคนเหล่านั้นเรื่อย ๆ " ลูกศิษย์หยุดร้องไห้แล้ว เริ่มสนทนาโต้ตอบหลวงตา
เจ้าต้องทำความเข้าใจจิตใจมนุษย์ เรียนรู้ว่าความเข้าใจผิดเกิดขึ้นได้ เราห้ามใจใครไม่ได้ สิ่งใดที่เราไม่ได้ทำ ไม่ได้คิด ไม่ได้เป็น แต่คนอื่นคอยยัดเยียดให้เรา เราก็ไม่ควรให้ความสำคัญ เพราะเราสัมผัสได้ว่าสิ่งนั้นไม่มีอยู่จริง ใจเราควรสงบนิ่ง ยังไม่ต้องชำระ ใจคนอื่นต่างหากที่ควรซักฟอกให้ขาวสะอาดกว่าที่เป็นอยู่ เขาเหล่านั้นเป็นบุคคลที่น่าสงสาร มีเวลามองคนอื่น แต่ไม่มีเวลามองตัวเอง จงแผ่เมตตาให้เขาไป เข้าใจใช่ไหม"
"เข้าใจครับหลวงตา" เด็กน้อยยิ้มมีความสุขอีกครั้ง

Thursday, October 28, 2010

แผนปรองดอง ที่สมองคิดแต่ปองร้าย

เมื่อนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เสนอแผนปรองดองแห่งชาติ ต่อแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.)
เพื่อหวังจะนำความขัดแย้งทางการเมืองบนท้องถนนกลับไปอยู่ในสภา และแผนปรองดองก็ได้มีการนำมาขับเคลื่อน จนกลายเป็นกระแสความคิด และการเคลื่อนไหวของคนในสังคมจำนวนมาก ซึ่งความสับสนที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจากคำว่าปรองดองนั่นเองว่ามีความหมายอย่างไร

อย่างไรก็ตาม แม้แต่ตัวนายกรัฐมนตรีเอง บางครั้งก็ใช้คำว่าปรองดองในความหมายที่คลุมเครือ บางกรณีก็มีความหมายให้คนไทยรู้รักสามัคคี และร่วมมือกันเพื่อพาให้ชาติพ้นวิกฤติ บางกรณีก็หมายถึงการปฏิรูปการเมือง ซึ่งไม่เพียงแต่นายกรัฐมนตรีเท่านั้นที่กล่าวอย่างสับสน คนทั่วไปก็ยังมีความสับสนด้วยว่าหมายความว่าอย่างไรกันแน่ และถึงที่สุดแล้วแผนปรองดองของรัฐบาลจะหมายถึงอะไรกันแน่

อันที่จริง ความสับสนเกิดขึ้นอาจเนื่องมาจากมุมมองของแต่ละคนต่อการเมืองเป็นอย่างไร ซึ่งข้อถกเถียงระหว่างการปรองดองทางการเมืองกับการปฏิรูปการเมืองที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ก็เนื่องมาจากมุมมองต่อการเมืองต่างกัน ฝ่ายแรกที่เน้นเรื่องการปรองดอง เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องของคนชาติเดียวกันและต้องอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ดังนั้นจึงทำทุกวิถีทางเพื่อให้เกิดการปรองดองของคนในชาติโดยอ้างว่าเหมือนที่เป็นมาในอดีต

ส่วนอีกฝ่ายเห็นว่าควรปฏิรูปการเมืองนั้น เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง ซึ่งไม่ว่าความขัดแย้งจะเกิดจากอะไร และสังคมไทยในช่วงไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา ความขัดแย้งได้ปรากฏให้เห็นแทบทุกด้าน ดังนั้นคนกลุ่มนี้จึงเสนอว่าควรจะปฏิรูปการเมืองเป็นเป้าหมายหลัก เพื่อกำหนดกฎกติกาทางสังคม และหากไม่มีความปรองดองก็ต้องเกิดขึ้นภายใต้กติกาเหล่านี้ ซึ่งมองว่าที่ผ่านมา กติกาทางสังคมต่างหากที่มีปัญหา
ความสับสนของคนทั่วไปที่เกิดขึ้นขณะนี้ก็คือ แผนปรองดองของรัฐบาลจะไปทางไหนกันแน่ จะเป็นไปในแนวทางที่หน่วยงานของรัฐบาลหลายแห่งพยายามดำเนินการอยู่ในขณะนี้หรือไม่ ซึ่งแต่ละหน่วยงานต่างก็มีโครงการสร้างความปรองดองแห่งชาติ เหมือนกับที่เคยกระทำมาแล้วในสงครามคอมมิวนิสต์ ในขณะที่ความเป็นจริงนั้น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจากกติกาบ้านเมืองหลายอย่างมีปัญหา
ดังนั้น จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์แผนปรองดองของรัฐบาลอย่างหนัก เพราะในขณะที่ความเป็นจริงของสังคมแล้วเกิดความขัดแย้งในทุกๆ ด้าน แต่หน่วยงานของรัฐเองก็กลับไปรื้อฟื้นวิธีการสร้างความสามัคคีของคนในชาติอีกอย่าง ประหนึ่งว่าความขัดแย้งทั้งหมดจะสิ้นสุดลงเมื่อเรายืนตรงเคารพธงชาติพร้อมกัน หรือ คนหันกลับมาใส่เสื้อสีเดียวกัน
เราเห็นว่าเสียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อแผนปรองดองของรัฐบาลนั้น เกิดขึ้นมาจากความคลุมเครือในการใช้ถ้อยคำและการปฏิบัติจากหน่วยงานของรัฐเอง หากรัฐบาลต้องการให้ความขัดแย้งอยู่ในกรอบกติกาที่สังคมประชาธิปไตยพึงกระทำ รัฐบาลต้องประกาศให้ชัดว่ามีแนวคิดต่อการเมืองและสังคมในขณะนี้อย่างไร
หากรัฐบาลมองว่าสังคมก่อนหน้านี้มีความกลมเกลียวและอยู่กันอย่างมีเอกภาพ รัฐบาลก็เดินตามแผนของกระทรวงมหาดไทยและหน่วยงานความมั่นคงที่กำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ แต่หากมองว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติธรรมดาของสังคม รัฐบาลก็ต้องปรับปรุงกติกาใหม่ให้เหมาะสม แต่ขณะนี้เรายังมองไม่เห็นว่ารัฐบาลจะไปทางใดแน่ และความสับสนที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจากความสับสนของรัฐบาลเอง

โรดแมพปรองดอง รัฐบาลต้องแสดงความชัดเจน

รัฐบาลยังแทงกั๊กอุบวันยุบสภา นปช.ย้ำต้องชัดเจน หากไม่ได้รับคำตอบพร้อมชุมนุมต่อยืดเยื้อ พบประเด็นใหม่ถ้าปชป.ถูกยุบพรรค ได้ ชวนคัมแบ็คนายกฯ แผนโรดแมพยุบสภาแล้วเลือกตั้งที่วางไว้อาจกลายเป็นหมัน

ยังเป็นที่พูดถึงอย่างกว้างขวางกรณีนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หยิบยกโรดแมพปรองดอง อันประกอบด้วยแผน 5 ข้อตามที่ได้แถลงไว้ดังนี้ว่า
1.ประเทศไทยโชคดีที่มีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่หล่อรวมพี่น้องคนไทย แต่น่าเสียดายที่ในระยะหลังมีคนจำนวนหนึ่งทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ถูกดึงเข้ามาในการเมือง เราจึงต้องมีภาระหน้าที่ช่วยไม่ให้สถาบันถูกดึงลงมาเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในปัจจุบัน ทุกฝ่ายต้องร่วมกันทำงานเพื่อเทิดทูนเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่ได้ทรงอุทิศพระวรกาย เวลา เพื่อช่วยเหลือประชาชน จึงอยากเชิญชวนมาทำความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสถาบัน ช่วยกันดูแลไม่ให้สื่อ หรือใครมาจาบจ้วงพระกษัตริย์และถูกดึงมาสู่ความขัดแย้งทางการเมือง

2.ถือเป็นหัวใจ คือ การปฏิรูปประเทศ ซึ่งความขัดแย้งอาจถูกมองเป็นเรื่องการเมือง แต่ก็มีรากฐานมาจากความไม่เป็นธรรมทางสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งพี่น้องที่มาชุมนุมและไม่ได้มาสัมผัสความไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะผู้มาชุมนุมที่ถูกทอดทิ้งไม่ได้รับโอกาส และหลายครั้งถูกรังแกจากผู้มีอำนาจ ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่ และหากปล่อยไว้อาจถูกสร้างความขัดแย้ง ไม่ใช่เฉพาะทางการเมือง แต่จะขยายวงกว้างมาก ซึ่งการแก้ไขจะปล่อยให้เหมือนในอดีตที่แก้ไขเพียงบางจุด และไม่สามารถแก้ทั้งโครงสร้างได้ วันนี้จึงต้องแก้ด้วยระบบสวัสดิการทั้งการศึกษา สาธารณสุขและการมีรายได้ รวมไปถึงการช่วยเหลือประชาชนที่ถูกกระทำเป็นพิเศษ หรือคนยากจนจะได้รับการดูแลเป็นระบบ กระบวนการปรองดองหรือปฏิรูปประเทศจะดึงเอาทุกฝ่าย ทุกภาคส่วน โดยมีรูปธรรมเป็นระบบทั้งสวัสดิการ และทุกรัฐบาลต้องดำเนินการเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้สังคมเกิดขึ้นชัดเจน

3.สังคมปัจจุบันเป็นสังคมข้อมูลข่าวสาร แต่ในระยะหลังเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้า อำนาจของสื่อก็ได้ถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่อาศัยช่องโหว่ช่องว่าง ทั้งอินเตอร์เน็ต ทีวีดาวเทียม เคเบิลทีวี วิทยุชุมชน แม้แต่สถานีรัฐก็ถูกกล่าวหาเป็นเครื่องมือของรัฐไปสู่ความขัดแย้ง ซึ่งยืนยันว่าสื่อยังมีสิทธิเสรีภาพ แต่ต้องมีกลไกอิสระที่มีการดูแล ต้องไม่เสนอมุ่งความขัดแย้ง เกลียดชัง และนำไปสู่การใช้ความรุนแรงต่อไป ซึ่งจะทำให้เกิดความปรองดองสงบสุขรวดเร็ว

4.การเกิดเหตุความรุนแรงสูญเสียที่นำไปสู่ความแตกแยก ทั้งเหตุการณ์วันที่ 10 เม.ย. ทั้งเหตุการณ์ 22 เม.ย. ที่สีลม เหตุการณ์ 28 เม.ย. ที่ดอนเมือง และเหตุการณ์กระทบกระเทือนจิตใจ แม้ไม่สูญเสียที่ รพ.จุฬาฯ ทุกเหตุการณ์ต้องตรวจสอบเพื่อชำระสะสางในเหตุการณ์เหล่านั้น ซึ่งจะมีคณะกรรมการอิสระเข้ามาตรวจสอบเพื่อให้ความจริงแก่สังคม เพราะสังคมจะสงบสุขได้ก็เพราะสังคมได้รับรู้ข้อเท็จจริง

5.เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับการเมืองโดยตรง แม้ถูกมองว่าเป็นกลุ่มคนเล็กๆ แต่ความขัดแย้งก็เกิดขึ้นในเวลา 4-5 ปี ก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรมหลายด้าน รวมถึงเรื่องกติกา เช่น รัฐธรรมนูญ กฎหมายบางฉบับ การเพิกถอนสิทธิเกี่ยวกับการเมือง ซึ่งถึงเวลาที่ต้องนำสิ่งเหล่านี้มาวางเพื่อให้มีกลไกระดมความคิดเห็นจากทุกฝ่ายเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ซึ่งจะครอบคลุมถึงประเด็นแก้ไข รธน. รวมถึงการชุมนุมทางการเมืองที่เกิน 5 คน เพื่อให้เกิดความรู้สึกไม่ยอมรับทางการเมืองหมดไป นายอภิสิทธิ์ ยังได้พูดตบท้ายไว้ด้วยว่า พร้อมที่จะให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 14 พ.ย .ศกนี้

5 ข้อของโรดแมพปรองดองดังกล่าว แม้จะเป็นที่ถูกอกถูกใจกับฝ่ายที่ต้องการเห็นบ้านเมืองสงบ แต่ก็ยังเป็นสิ่งที่คลุมเครือของฝั่ง นปช. ด้วยเหตุว่า คนเสื้อแดงนั้น หวั่นว่าจะมีแผนหลอกล่อซ่อนเร้นไว้ ภายใน บรรดาแกนนำคนเสื้อแดงจึงร่วมกันมองหาความเป็นไปได้ และ เป็นไปไม่ได้ของโรดแมพดังกล่าว จับใจความคนเสื้อแดงออกมาได้ 4 ข้อว่า 1.นปช.มีมติเป็นเอกฉันท์ยอมรับแผนปรองดอง 2.มีการตั้งข้อสังเกตว่า การประกาศจะให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 14 พ.ย.นั้น จริงๆ แล้ว เป็นอำนาจของ กกต. หาได้เป็นอำนาจของนายกรัฐมนตรีไม่ 3.ให้รัฐบาลยุติการคุกคามคนเสื้อแดงในทุกรูปแบบ และไม่ขอรับการนิรโทษกรรมจากคดีผู้ก่อการร้ายและล้มสถาบัน โดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับคดีขอไปสู้คดีในศาล และ 4.กลุ่มคนเสื้อแดง หรือ นปช. ขอให้รัฐบาลยุติการนำเอาสถาบันมากล่าวอ้าง โดยเฉพาะเรื่องของความไม่จงรักภักดี

จากการที่รัฐบาลเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อมา แต่ไม่ได้บอกวันยุบสภา ทำให้กลุ่มคนเสื้อแดงเกิดความคลางแคลงใจ ถึงกับทวงถามความชัดเจนในวันยุบสภาอยู่อย่างต่อเนื่องพร้อมประกาศว่า จะยังไม่ยุติการชุมนุมจนกว่าจะทราบวันยุบสภาที่ชัดเจนจากรัฐบาล หากเมื่อใดที่มีความชัดเจนเรื่องวันยุบสภาออกมาจากปากนายอภิสิทธิ์ฯ นั่นแหละจึงจะแสดงทีท่าสลายตัวออกจากสี่แยกราชประสงค์กลับภูมิลำเนาของแต่ละคน
จึงเป็นคำถามถึงรัฐบาลว่า ในเมื่อฝ่ายรัฐบาลจุดประกายเรื่องแผนปรองดองนี้ขึ้นมา แต่ไฉนรัฐบาลจึงไม่ทำให้ชัดเจน รัฐบาลรีรออะไรอยู่จึงไม่เอ่ยปากระบุวันยุบสภาออกมาให้สังคมได้รับรู้ โดยเฉพาะกลุ่มคนเสื้อแดงที่กำลังรอฟังอยู่

น่าจะเป็นไปได้ว่า พรรคประชาธิปัตย์นั้น มีคดียุบพรรคติดตัวอยู่ จึงไม่อาจฟันธงออกไปได้ว่าจะยุบสภาเมื่อใด เพราะหากว่าพรรคประชาธิปัตย์ถูกตัดสินให้ยุบพรรค จากนั้นก็จะต้องมีการเลือกตัวนายกรัฐมนตรีขึ้นมาใหม่ และถ้าตัวนายกฯคนใหม่กลายเป็น นายชวน หลีกภัย เราๆ ท่านๆ ก็ต้องอย่าลืมว่าตัวนายชวนนั้นประกาศชัดอยู่แล้วว่าไม่เห็นด้วยกับการยุบสภา ดังนั้น ถ้านายชวน ขึ้นมาเป็นนายก แทนนายอภิสิทธิ์ เรื่องยุบสภาอาจมีอันต้องจบไป..นี่จึงเป็นตัวแปรอย่างหนึ่งทางการเมือง
เว้นแต่ว่า นายชวน หลีกภัย หรือคนที่จะขึ้นมารั้งตำแหน่งนายกฯคนใหม่จะเออออเห็นด้วยกับแผนปรองดองของนายอภิสิทธิ์ฯ แผนโรดแมพนี้ก็จะสามารถเดินหน้าต่อไปได้ แม้เกิดกรณียุบพรรคขึ้น
อย่างไรก็ตามหลังถูกทวงถามถึงกำหนดวันยุบสภาที่แน่นอนจาก นปช. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ก็ได้แย้มออกมาบ้างว่า กำหนดการยุบสภาจะอยู่ระหว่างวันที่ 15-30 กันยายน เรื่องนี้นอกจากกลุ่มคนเสื้อแดงจะคอยฟังชัดๆ กันแล้ว ประชาชนที่รอหย่อนบัตรเลือกตั้งก็ต้องดูว่า แผนปรองดอง 5 ข้อของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จะเกิดเป็นรูปธรรมหรือไม่ ต้องอาศัยตัวหนุนจากหลายฝ่าย
เพราะเบื้องหลังของโรดแมพนี้ มีหลายอย่างที่ซับซ้อนอยู่พอสมควร……

แผนปรองดอง ที่สมองคิดแต่ปองร้าย

เมื่อนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เสนอแผนปรองดองแห่งชาติ ต่อแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.)
เพื่อหวังจะนำความขัดแย้งทางการเมืองบนท้องถนนกลับไปอยู่ในสภา และแผนปรองดองก็ได้มีการนำมาขับเคลื่อน จนกลายเป็นกระแสความคิด และการเคลื่อนไหวของคนในสังคมจำนวนมาก ซึ่งความสับสนที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจากคำว่าปรองดองนั่นเองว่ามีความหมายอย่างไร

อย่างไรก็ตาม แม้แต่ตัวนายกรัฐมนตรีเอง บางครั้งก็ใช้คำว่าปรองดองในความหมายที่คลุมเครือ บางกรณีก็มีความหมายให้คนไทยรู้รักสามัคคี และร่วมมือกันเพื่อพาให้ชาติพ้นวิกฤติ บางกรณีก็หมายถึงการปฏิรูปการเมือง ซึ่งไม่เพียงแต่นายกรัฐมนตรีเท่านั้นที่กล่าวอย่างสับสน คนทั่วไปก็ยังมีความสับสนด้วยว่าหมายความว่าอย่างไรกันแน่ และถึงที่สุดแล้วแผนปรองดองของรัฐบาลจะหมายถึงอะไรกันแน่

อันที่จริง ความสับสนเกิดขึ้นอาจเนื่องมาจากมุมมองของแต่ละคนต่อการเมืองเป็นอย่างไร ซึ่งข้อถกเถียงระหว่างการปรองดองทางการเมืองกับการปฏิรูปการเมืองที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ก็เนื่องมาจากมุมมองต่อการเมืองต่างกัน ฝ่ายแรกที่เน้นเรื่องการปรองดอง เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องของคนชาติเดียวกันและต้องอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ดังนั้นจึงทำทุกวิถีทางเพื่อให้เกิดการปรองดองของคนในชาติโดยอ้างว่าเหมือนที่เป็นมาในอดีต

ส่วนอีกฝ่ายเห็นว่าควรปฏิรูปการเมืองนั้น เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง ซึ่งไม่ว่าความขัดแย้งจะเกิดจากอะไร และสังคมไทยในช่วงไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา ความขัดแย้งได้ปรากฏให้เห็นแทบทุกด้าน ดังนั้นคนกลุ่มนี้จึงเสนอว่าควรจะปฏิรูปการเมืองเป็นเป้าหมายหลัก เพื่อกำหนดกฎกติกาทางสังคม และหากไม่มีความปรองดองก็ต้องเกิดขึ้นภายใต้กติกาเหล่านี้ ซึ่งมองว่าที่ผ่านมา กติกาทางสังคมต่างหากที่มีปัญหา
ความสับสนของคนทั่วไปที่เกิดขึ้นขณะนี้ก็คือ แผนปรองดองของรัฐบาลจะไปทางไหนกันแน่ จะเป็นไปในแนวทางที่หน่วยงานของรัฐบาลหลายแห่งพยายามดำเนินการอยู่ในขณะนี้หรือไม่ ซึ่งแต่ละหน่วยงานต่างก็มีโครงการสร้างความปรองดองแห่งชาติ เหมือนกับที่เคยกระทำมาแล้วในสงครามคอมมิวนิสต์ ในขณะที่ความเป็นจริงนั้น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจากกติกาบ้านเมืองหลายอย่างมีปัญหา
ดังนั้น จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์แผนปรองดองของรัฐบาลอย่างหนัก เพราะในขณะที่ความเป็นจริงของสังคมแล้วเกิดความขัดแย้งในทุกๆ ด้าน แต่หน่วยงานของรัฐเองก็กลับไปรื้อฟื้นวิธีการสร้างความสามัคคีของคนในชาติอีกอย่าง ประหนึ่งว่าความขัดแย้งทั้งหมดจะสิ้นสุดลงเมื่อเรายืนตรงเคารพธงชาติพร้อมกัน หรือ คนหันกลับมาใส่เสื้อสีเดียวกัน
เราเห็นว่าเสียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อแผนปรองดองของรัฐบาลนั้น เกิดขึ้นมาจากความคลุมเครือในการใช้ถ้อยคำและการปฏิบัติจากหน่วยงานของรัฐเอง หากรัฐบาลต้องการให้ความขัดแย้งอยู่ในกรอบกติกาที่สังคมประชาธิปไตยพึงกระทำ รัฐบาลต้องประกาศให้ชัดว่ามีแนวคิดต่อการเมืองและสังคมในขณะนี้อย่างไร
หากรัฐบาลมองว่าสังคมก่อนหน้านี้มีความกลมเกลียวและอยู่กันอย่างมีเอกภาพ รัฐบาลก็เดินตามแผนของกระทรวงมหาดไทยและหน่วยงานความมั่นคงที่กำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ แต่หากมองว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติธรรมดาของสังคม รัฐบาลก็ต้องปรับปรุงกติกาใหม่ให้เหมาะสม แต่ขณะนี้เรายังมองไม่เห็นว่ารัฐบาลจะไปทางใดแน่ และความสับสนที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจากความสับสนของรัฐบาลเอง

โรดแมพปรองดอง รัฐบาลต้องแสดงความชัดเจน

รัฐบาลยังแทงกั๊กอุบวันยุบสภา นปช.ย้ำต้องชัดเจน หากไม่ได้รับคำตอบพร้อมชุมนุมต่อยืดเยื้อ พบประเด็นใหม่ถ้าปชป.ถูกยุบพรรค ได้ ชวนคัมแบ็คนายกฯ แผนโรดแมพยุบสภาแล้วเลือกตั้งที่วางไว้อาจกลายเป็นหมัน

ยังเป็นที่พูดถึงอย่างกว้างขวางกรณีนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หยิบยกโรดแมพปรองดอง อันประกอบด้วยแผน 5 ข้อตามที่ได้แถลงไว้ดังนี้ว่า
1.ประเทศไทยโชคดีที่มีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่หล่อรวมพี่น้องคนไทย แต่น่าเสียดายที่ในระยะหลังมีคนจำนวนหนึ่งทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ถูกดึงเข้ามาในการเมือง เราจึงต้องมีภาระหน้าที่ช่วยไม่ให้สถาบันถูกดึงลงมาเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในปัจจุบัน ทุกฝ่ายต้องร่วมกันทำงานเพื่อเทิดทูนเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่ได้ทรงอุทิศพระวรกาย เวลา เพื่อช่วยเหลือประชาชน จึงอยากเชิญชวนมาทำความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสถาบัน ช่วยกันดูแลไม่ให้สื่อ หรือใครมาจาบจ้วงพระกษัตริย์และถูกดึงมาสู่ความขัดแย้งทางการเมือง

2.ถือเป็นหัวใจ คือ การปฏิรูปประเทศ ซึ่งความขัดแย้งอาจถูกมองเป็นเรื่องการเมือง แต่ก็มีรากฐานมาจากความไม่เป็นธรรมทางสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งพี่น้องที่มาชุมนุมและไม่ได้มาสัมผัสความไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะผู้มาชุมนุมที่ถูกทอดทิ้งไม่ได้รับโอกาส และหลายครั้งถูกรังแกจากผู้มีอำนาจ ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่ และหากปล่อยไว้อาจถูกสร้างความขัดแย้ง ไม่ใช่เฉพาะทางการเมือง แต่จะขยายวงกว้างมาก ซึ่งการแก้ไขจะปล่อยให้เหมือนในอดีตที่แก้ไขเพียงบางจุด และไม่สามารถแก้ทั้งโครงสร้างได้ วันนี้จึงต้องแก้ด้วยระบบสวัสดิการทั้งการศึกษา สาธารณสุขและการมีรายได้ รวมไปถึงการช่วยเหลือประชาชนที่ถูกกระทำเป็นพิเศษ หรือคนยากจนจะได้รับการดูแลเป็นระบบ กระบวนการปรองดองหรือปฏิรูปประเทศจะดึงเอาทุกฝ่าย ทุกภาคส่วน โดยมีรูปธรรมเป็นระบบทั้งสวัสดิการ และทุกรัฐบาลต้องดำเนินการเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้สังคมเกิดขึ้นชัดเจน

3.สังคมปัจจุบันเป็นสังคมข้อมูลข่าวสาร แต่ในระยะหลังเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้า อำนาจของสื่อก็ได้ถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่อาศัยช่องโหว่ช่องว่าง ทั้งอินเตอร์เน็ต ทีวีดาวเทียม เคเบิลทีวี วิทยุชุมชน แม้แต่สถานีรัฐก็ถูกกล่าวหาเป็นเครื่องมือของรัฐไปสู่ความขัดแย้ง ซึ่งยืนยันว่าสื่อยังมีสิทธิเสรีภาพ แต่ต้องมีกลไกอิสระที่มีการดูแล ต้องไม่เสนอมุ่งความขัดแย้ง เกลียดชัง และนำไปสู่การใช้ความรุนแรงต่อไป ซึ่งจะทำให้เกิดความปรองดองสงบสุขรวดเร็ว

4.การเกิดเหตุความรุนแรงสูญเสียที่นำไปสู่ความแตกแยก ทั้งเหตุการณ์วันที่ 10 เม.ย. ทั้งเหตุการณ์ 22 เม.ย. ที่สีลม เหตุการณ์ 28 เม.ย. ที่ดอนเมือง และเหตุการณ์กระทบกระเทือนจิตใจ แม้ไม่สูญเสียที่ รพ.จุฬาฯ ทุกเหตุการณ์ต้องตรวจสอบเพื่อชำระสะสางในเหตุการณ์เหล่านั้น ซึ่งจะมีคณะกรรมการอิสระเข้ามาตรวจสอบเพื่อให้ความจริงแก่สังคม เพราะสังคมจะสงบสุขได้ก็เพราะสังคมได้รับรู้ข้อเท็จจริง

5.เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับการเมืองโดยตรง แม้ถูกมองว่าเป็นกลุ่มคนเล็กๆ แต่ความขัดแย้งก็เกิดขึ้นในเวลา 4-5 ปี ก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรมหลายด้าน รวมถึงเรื่องกติกา เช่น รัฐธรรมนูญ กฎหมายบางฉบับ การเพิกถอนสิทธิเกี่ยวกับการเมือง ซึ่งถึงเวลาที่ต้องนำสิ่งเหล่านี้มาวางเพื่อให้มีกลไกระดมความคิดเห็นจากทุกฝ่ายเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ซึ่งจะครอบคลุมถึงประเด็นแก้ไข รธน. รวมถึงการชุมนุมทางการเมืองที่เกิน 5 คน เพื่อให้เกิดความรู้สึกไม่ยอมรับทางการเมืองหมดไป นายอภิสิทธิ์ ยังได้พูดตบท้ายไว้ด้วยว่า พร้อมที่จะให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 14 พ.ย .ศกนี้

5 ข้อของโรดแมพปรองดองดังกล่าว แม้จะเป็นที่ถูกอกถูกใจกับฝ่ายที่ต้องการเห็นบ้านเมืองสงบ แต่ก็ยังเป็นสิ่งที่คลุมเครือของฝั่ง นปช. ด้วยเหตุว่า คนเสื้อแดงนั้น หวั่นว่าจะมีแผนหลอกล่อซ่อนเร้นไว้ ภายใน บรรดาแกนนำคนเสื้อแดงจึงร่วมกันมองหาความเป็นไปได้ และ เป็นไปไม่ได้ของโรดแมพดังกล่าว จับใจความคนเสื้อแดงออกมาได้ 4 ข้อว่า 1.นปช.มีมติเป็นเอกฉันท์ยอมรับแผนปรองดอง 2.มีการตั้งข้อสังเกตว่า การประกาศจะให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 14 พ.ย.นั้น จริงๆ แล้ว เป็นอำนาจของ กกต. หาได้เป็นอำนาจของนายกรัฐมนตรีไม่ 3.ให้รัฐบาลยุติการคุกคามคนเสื้อแดงในทุกรูปแบบ และไม่ขอรับการนิรโทษกรรมจากคดีผู้ก่อการร้ายและล้มสถาบัน โดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับคดีขอไปสู้คดีในศาล และ 4.กลุ่มคนเสื้อแดง หรือ นปช. ขอให้รัฐบาลยุติการนำเอาสถาบันมากล่าวอ้าง โดยเฉพาะเรื่องของความไม่จงรักภักดี

จากการที่รัฐบาลเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อมา แต่ไม่ได้บอกวันยุบสภา ทำให้กลุ่มคนเสื้อแดงเกิดความคลางแคลงใจ ถึงกับทวงถามความชัดเจนในวันยุบสภาอยู่อย่างต่อเนื่องพร้อมประกาศว่า จะยังไม่ยุติการชุมนุมจนกว่าจะทราบวันยุบสภาที่ชัดเจนจากรัฐบาล หากเมื่อใดที่มีความชัดเจนเรื่องวันยุบสภาออกมาจากปากนายอภิสิทธิ์ฯ นั่นแหละจึงจะแสดงทีท่าสลายตัวออกจากสี่แยกราชประสงค์กลับภูมิลำเนาของแต่ละคน
จึงเป็นคำถามถึงรัฐบาลว่า ในเมื่อฝ่ายรัฐบาลจุดประกายเรื่องแผนปรองดองนี้ขึ้นมา แต่ไฉนรัฐบาลจึงไม่ทำให้ชัดเจน รัฐบาลรีรออะไรอยู่จึงไม่เอ่ยปากระบุวันยุบสภาออกมาให้สังคมได้รับรู้ โดยเฉพาะกลุ่มคนเสื้อแดงที่กำลังรอฟังอยู่

น่าจะเป็นไปได้ว่า พรรคประชาธิปัตย์นั้น มีคดียุบพรรคติดตัวอยู่ จึงไม่อาจฟันธงออกไปได้ว่าจะยุบสภาเมื่อใด เพราะหากว่าพรรคประชาธิปัตย์ถูกตัดสินให้ยุบพรรค จากนั้นก็จะต้องมีการเลือกตัวนายกรัฐมนตรีขึ้นมาใหม่ และถ้าตัวนายกฯคนใหม่กลายเป็น นายชวน หลีกภัย เราๆ ท่านๆ ก็ต้องอย่าลืมว่าตัวนายชวนนั้นประกาศชัดอยู่แล้วว่าไม่เห็นด้วยกับการยุบสภา ดังนั้น ถ้านายชวน ขึ้นมาเป็นนายก แทนนายอภิสิทธิ์ เรื่องยุบสภาอาจมีอันต้องจบไป..นี่จึงเป็นตัวแปรอย่างหนึ่งทางการเมือง
เว้นแต่ว่า นายชวน หลีกภัย หรือคนที่จะขึ้นมารั้งตำแหน่งนายกฯคนใหม่จะเออออเห็นด้วยกับแผนปรองดองของนายอภิสิทธิ์ฯ แผนโรดแมพนี้ก็จะสามารถเดินหน้าต่อไปได้ แม้เกิดกรณียุบพรรคขึ้น
อย่างไรก็ตามหลังถูกทวงถามถึงกำหนดวันยุบสภาที่แน่นอนจาก นปช. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ก็ได้แย้มออกมาบ้างว่า กำหนดการยุบสภาจะอยู่ระหว่างวันที่ 15-30 กันยายน เรื่องนี้นอกจากกลุ่มคนเสื้อแดงจะคอยฟังชัดๆ กันแล้ว ประชาชนที่รอหย่อนบัตรเลือกตั้งก็ต้องดูว่า แผนปรองดอง 5 ข้อของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จะเกิดเป็นรูปธรรมหรือไม่ ต้องอาศัยตัวหนุนจากหลายฝ่าย
เพราะเบื้องหลังของโรดแมพนี้ มีหลายอย่างที่ซับซ้อนอยู่พอสมควร……

แผนปรองดอง ที่สมองคิดแต่ปองร้าย

เมื่อนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เสนอแผนปรองดองแห่งชาติ ต่อแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.)
เพื่อหวังจะนำความขัดแย้งทางการเมืองบนท้องถนนกลับไปอยู่ในสภา และแผนปรองดองก็ได้มีการนำมาขับเคลื่อน จนกลายเป็นกระแสความคิด และการเคลื่อนไหวของคนในสังคมจำนวนมาก ซึ่งความสับสนที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจากคำว่าปรองดองนั่นเองว่ามีความหมายอย่างไร

อย่างไรก็ตาม แม้แต่ตัวนายกรัฐมนตรีเอง บางครั้งก็ใช้คำว่าปรองดองในความหมายที่คลุมเครือ บางกรณีก็มีความหมายให้คนไทยรู้รักสามัคคี และร่วมมือกันเพื่อพาให้ชาติพ้นวิกฤติ บางกรณีก็หมายถึงการปฏิรูปการเมือง ซึ่งไม่เพียงแต่นายกรัฐมนตรีเท่านั้นที่กล่าวอย่างสับสน คนทั่วไปก็ยังมีความสับสนด้วยว่าหมายความว่าอย่างไรกันแน่ และถึงที่สุดแล้วแผนปรองดองของรัฐบาลจะหมายถึงอะไรกันแน่

อันที่จริง ความสับสนเกิดขึ้นอาจเนื่องมาจากมุมมองของแต่ละคนต่อการเมืองเป็นอย่างไร ซึ่งข้อถกเถียงระหว่างการปรองดองทางการเมืองกับการปฏิรูปการเมืองที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ก็เนื่องมาจากมุมมองต่อการเมืองต่างกัน ฝ่ายแรกที่เน้นเรื่องการปรองดอง เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องของคนชาติเดียวกันและต้องอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ดังนั้นจึงทำทุกวิถีทางเพื่อให้เกิดการปรองดองของคนในชาติโดยอ้างว่าเหมือนที่เป็นมาในอดีต

ส่วนอีกฝ่ายเห็นว่าควรปฏิรูปการเมืองนั้น เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง ซึ่งไม่ว่าความขัดแย้งจะเกิดจากอะไร และสังคมไทยในช่วงไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา ความขัดแย้งได้ปรากฏให้เห็นแทบทุกด้าน ดังนั้นคนกลุ่มนี้จึงเสนอว่าควรจะปฏิรูปการเมืองเป็นเป้าหมายหลัก เพื่อกำหนดกฎกติกาทางสังคม และหากไม่มีความปรองดองก็ต้องเกิดขึ้นภายใต้กติกาเหล่านี้ ซึ่งมองว่าที่ผ่านมา กติกาทางสังคมต่างหากที่มีปัญหา
ความสับสนของคนทั่วไปที่เกิดขึ้นขณะนี้ก็คือ แผนปรองดองของรัฐบาลจะไปทางไหนกันแน่ จะเป็นไปในแนวทางที่หน่วยงานของรัฐบาลหลายแห่งพยายามดำเนินการอยู่ในขณะนี้หรือไม่ ซึ่งแต่ละหน่วยงานต่างก็มีโครงการสร้างความปรองดองแห่งชาติ เหมือนกับที่เคยกระทำมาแล้วในสงครามคอมมิวนิสต์ ในขณะที่ความเป็นจริงนั้น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจากกติกาบ้านเมืองหลายอย่างมีปัญหา
ดังนั้น จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์แผนปรองดองของรัฐบาลอย่างหนัก เพราะในขณะที่ความเป็นจริงของสังคมแล้วเกิดความขัดแย้งในทุกๆ ด้าน แต่หน่วยงานของรัฐเองก็กลับไปรื้อฟื้นวิธีการสร้างความสามัคคีของคนในชาติอีกอย่าง ประหนึ่งว่าความขัดแย้งทั้งหมดจะสิ้นสุดลงเมื่อเรายืนตรงเคารพธงชาติพร้อมกัน หรือ คนหันกลับมาใส่เสื้อสีเดียวกัน
เราเห็นว่าเสียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อแผนปรองดองของรัฐบาลนั้น เกิดขึ้นมาจากความคลุมเครือในการใช้ถ้อยคำและการปฏิบัติจากหน่วยงานของรัฐเอง หากรัฐบาลต้องการให้ความขัดแย้งอยู่ในกรอบกติกาที่สังคมประชาธิปไตยพึงกระทำ รัฐบาลต้องประกาศให้ชัดว่ามีแนวคิดต่อการเมืองและสังคมในขณะนี้อย่างไร
หากรัฐบาลมองว่าสังคมก่อนหน้านี้มีความกลมเกลียวและอยู่กันอย่างมีเอกภาพ รัฐบาลก็เดินตามแผนของกระทรวงมหาดไทยและหน่วยงานความมั่นคงที่กำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ แต่หากมองว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติธรรมดาของสังคม รัฐบาลก็ต้องปรับปรุงกติกาใหม่ให้เหมาะสม แต่ขณะนี้เรายังมองไม่เห็นว่ารัฐบาลจะไปทางใดแน่ และความสับสนที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจากความสับสนของรัฐบาลเอง

โรดแมพปรองดอง รัฐบาลต้องแสดงความชัดเจน

รัฐบาลยังแทงกั๊กอุบวันยุบสภา นปช.ย้ำต้องชัดเจน หากไม่ได้รับคำตอบพร้อมชุมนุมต่อยืดเยื้อ พบประเด็นใหม่ถ้าปชป.ถูกยุบพรรค ได้ ชวนคัมแบ็คนายกฯ แผนโรดแมพยุบสภาแล้วเลือกตั้งที่วางไว้อาจกลายเป็นหมัน

ยังเป็นที่พูดถึงอย่างกว้างขวางกรณีนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หยิบยกโรดแมพปรองดอง อันประกอบด้วยแผน 5 ข้อตามที่ได้แถลงไว้ดังนี้ว่า
1.ประเทศไทยโชคดีที่มีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่หล่อรวมพี่น้องคนไทย แต่น่าเสียดายที่ในระยะหลังมีคนจำนวนหนึ่งทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ถูกดึงเข้ามาในการเมือง เราจึงต้องมีภาระหน้าที่ช่วยไม่ให้สถาบันถูกดึงลงมาเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในปัจจุบัน ทุกฝ่ายต้องร่วมกันทำงานเพื่อเทิดทูนเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่ได้ทรงอุทิศพระวรกาย เวลา เพื่อช่วยเหลือประชาชน จึงอยากเชิญชวนมาทำความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสถาบัน ช่วยกันดูแลไม่ให้สื่อ หรือใครมาจาบจ้วงพระกษัตริย์และถูกดึงมาสู่ความขัดแย้งทางการเมือง

2.ถือเป็นหัวใจ คือ การปฏิรูปประเทศ ซึ่งความขัดแย้งอาจถูกมองเป็นเรื่องการเมือง แต่ก็มีรากฐานมาจากความไม่เป็นธรรมทางสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งพี่น้องที่มาชุมนุมและไม่ได้มาสัมผัสความไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะผู้มาชุมนุมที่ถูกทอดทิ้งไม่ได้รับโอกาส และหลายครั้งถูกรังแกจากผู้มีอำนาจ ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่ และหากปล่อยไว้อาจถูกสร้างความขัดแย้ง ไม่ใช่เฉพาะทางการเมือง แต่จะขยายวงกว้างมาก ซึ่งการแก้ไขจะปล่อยให้เหมือนในอดีตที่แก้ไขเพียงบางจุด และไม่สามารถแก้ทั้งโครงสร้างได้ วันนี้จึงต้องแก้ด้วยระบบสวัสดิการทั้งการศึกษา สาธารณสุขและการมีรายได้ รวมไปถึงการช่วยเหลือประชาชนที่ถูกกระทำเป็นพิเศษ หรือคนยากจนจะได้รับการดูแลเป็นระบบ กระบวนการปรองดองหรือปฏิรูปประเทศจะดึงเอาทุกฝ่าย ทุกภาคส่วน โดยมีรูปธรรมเป็นระบบทั้งสวัสดิการ และทุกรัฐบาลต้องดำเนินการเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้สังคมเกิดขึ้นชัดเจน

3.สังคมปัจจุบันเป็นสังคมข้อมูลข่าวสาร แต่ในระยะหลังเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้า อำนาจของสื่อก็ได้ถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่อาศัยช่องโหว่ช่องว่าง ทั้งอินเตอร์เน็ต ทีวีดาวเทียม เคเบิลทีวี วิทยุชุมชน แม้แต่สถานีรัฐก็ถูกกล่าวหาเป็นเครื่องมือของรัฐไปสู่ความขัดแย้ง ซึ่งยืนยันว่าสื่อยังมีสิทธิเสรีภาพ แต่ต้องมีกลไกอิสระที่มีการดูแล ต้องไม่เสนอมุ่งความขัดแย้ง เกลียดชัง และนำไปสู่การใช้ความรุนแรงต่อไป ซึ่งจะทำให้เกิดความปรองดองสงบสุขรวดเร็ว

4.การเกิดเหตุความรุนแรงสูญเสียที่นำไปสู่ความแตกแยก ทั้งเหตุการณ์วันที่ 10 เม.ย. ทั้งเหตุการณ์ 22 เม.ย. ที่สีลม เหตุการณ์ 28 เม.ย. ที่ดอนเมือง และเหตุการณ์กระทบกระเทือนจิตใจ แม้ไม่สูญเสียที่ รพ.จุฬาฯ ทุกเหตุการณ์ต้องตรวจสอบเพื่อชำระสะสางในเหตุการณ์เหล่านั้น ซึ่งจะมีคณะกรรมการอิสระเข้ามาตรวจสอบเพื่อให้ความจริงแก่สังคม เพราะสังคมจะสงบสุขได้ก็เพราะสังคมได้รับรู้ข้อเท็จจริง

5.เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับการเมืองโดยตรง แม้ถูกมองว่าเป็นกลุ่มคนเล็กๆ แต่ความขัดแย้งก็เกิดขึ้นในเวลา 4-5 ปี ก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรมหลายด้าน รวมถึงเรื่องกติกา เช่น รัฐธรรมนูญ กฎหมายบางฉบับ การเพิกถอนสิทธิเกี่ยวกับการเมือง ซึ่งถึงเวลาที่ต้องนำสิ่งเหล่านี้มาวางเพื่อให้มีกลไกระดมความคิดเห็นจากทุกฝ่ายเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ซึ่งจะครอบคลุมถึงประเด็นแก้ไข รธน. รวมถึงการชุมนุมทางการเมืองที่เกิน 5 คน เพื่อให้เกิดความรู้สึกไม่ยอมรับทางการเมืองหมดไป นายอภิสิทธิ์ ยังได้พูดตบท้ายไว้ด้วยว่า พร้อมที่จะให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 14 พ.ย .ศกนี้

5 ข้อของโรดแมพปรองดองดังกล่าว แม้จะเป็นที่ถูกอกถูกใจกับฝ่ายที่ต้องการเห็นบ้านเมืองสงบ แต่ก็ยังเป็นสิ่งที่คลุมเครือของฝั่ง นปช. ด้วยเหตุว่า คนเสื้อแดงนั้น หวั่นว่าจะมีแผนหลอกล่อซ่อนเร้นไว้ ภายใน บรรดาแกนนำคนเสื้อแดงจึงร่วมกันมองหาความเป็นไปได้ และ เป็นไปไม่ได้ของโรดแมพดังกล่าว จับใจความคนเสื้อแดงออกมาได้ 4 ข้อว่า 1.นปช.มีมติเป็นเอกฉันท์ยอมรับแผนปรองดอง 2.มีการตั้งข้อสังเกตว่า การประกาศจะให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 14 พ.ย.นั้น จริงๆ แล้ว เป็นอำนาจของ กกต. หาได้เป็นอำนาจของนายกรัฐมนตรีไม่ 3.ให้รัฐบาลยุติการคุกคามคนเสื้อแดงในทุกรูปแบบ และไม่ขอรับการนิรโทษกรรมจากคดีผู้ก่อการร้ายและล้มสถาบัน โดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับคดีขอไปสู้คดีในศาล และ 4.กลุ่มคนเสื้อแดง หรือ นปช. ขอให้รัฐบาลยุติการนำเอาสถาบันมากล่าวอ้าง โดยเฉพาะเรื่องของความไม่จงรักภักดี

จากการที่รัฐบาลเสนอแผนปรองดอง 5 ข้อมา แต่ไม่ได้บอกวันยุบสภา ทำให้กลุ่มคนเสื้อแดงเกิดความคลางแคลงใจ ถึงกับทวงถามความชัดเจนในวันยุบสภาอยู่อย่างต่อเนื่องพร้อมประกาศว่า จะยังไม่ยุติการชุมนุมจนกว่าจะทราบวันยุบสภาที่ชัดเจนจากรัฐบาล หากเมื่อใดที่มีความชัดเจนเรื่องวันยุบสภาออกมาจากปากนายอภิสิทธิ์ฯ นั่นแหละจึงจะแสดงทีท่าสลายตัวออกจากสี่แยกราชประสงค์กลับภูมิลำเนาของแต่ละคน
จึงเป็นคำถามถึงรัฐบาลว่า ในเมื่อฝ่ายรัฐบาลจุดประกายเรื่องแผนปรองดองนี้ขึ้นมา แต่ไฉนรัฐบาลจึงไม่ทำให้ชัดเจน รัฐบาลรีรออะไรอยู่จึงไม่เอ่ยปากระบุวันยุบสภาออกมาให้สังคมได้รับรู้ โดยเฉพาะกลุ่มคนเสื้อแดงที่กำลังรอฟังอยู่

น่าจะเป็นไปได้ว่า พรรคประชาธิปัตย์นั้น มีคดียุบพรรคติดตัวอยู่ จึงไม่อาจฟันธงออกไปได้ว่าจะยุบสภาเมื่อใด เพราะหากว่าพรรคประชาธิปัตย์ถูกตัดสินให้ยุบพรรค จากนั้นก็จะต้องมีการเลือกตัวนายกรัฐมนตรีขึ้นมาใหม่ และถ้าตัวนายกฯคนใหม่กลายเป็น นายชวน หลีกภัย เราๆ ท่านๆ ก็ต้องอย่าลืมว่าตัวนายชวนนั้นประกาศชัดอยู่แล้วว่าไม่เห็นด้วยกับการยุบสภา ดังนั้น ถ้านายชวน ขึ้นมาเป็นนายก แทนนายอภิสิทธิ์ เรื่องยุบสภาอาจมีอันต้องจบไป..นี่จึงเป็นตัวแปรอย่างหนึ่งทางการเมือง
เว้นแต่ว่า นายชวน หลีกภัย หรือคนที่จะขึ้นมารั้งตำแหน่งนายกฯคนใหม่จะเออออเห็นด้วยกับแผนปรองดองของนายอภิสิทธิ์ฯ แผนโรดแมพนี้ก็จะสามารถเดินหน้าต่อไปได้ แม้เกิดกรณียุบพรรคขึ้น
อย่างไรก็ตามหลังถูกทวงถามถึงกำหนดวันยุบสภาที่แน่นอนจาก นปช. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ก็ได้แย้มออกมาบ้างว่า กำหนดการยุบสภาจะอยู่ระหว่างวันที่ 15-30 กันยายน เรื่องนี้นอกจากกลุ่มคนเสื้อแดงจะคอยฟังชัดๆ กันแล้ว ประชาชนที่รอหย่อนบัตรเลือกตั้งก็ต้องดูว่า แผนปรองดอง 5 ข้อของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จะเกิดเป็นรูปธรรมหรือไม่ ต้องอาศัยตัวหนุนจากหลายฝ่าย
เพราะเบื้องหลังของโรดแมพนี้ มีหลายอย่างที่ซับซ้อนอยู่พอสมควร……

"ถังที่แตกร้าว"

ชายจีนคนหนึ่งแบกถังน้ำ 2 ใบ ไว้บนบ่าเพื่อไปตักน้ำที่ริมธาร ถังน้ำใบหนึ่งมีรอยแตก ในขณะที่อีกใบหนึ่งไร้รอยตำหนิ และสามารถบรรจุน้ำกลับมาได้เต็มถัง แต่ด้วยระยะทางอันยาวใกลจากลำธารกลับสู่บ้าน จึงทำให้น้ำที่อยู่ในถังใบที่มีรอยแตกเหลืออยู่เพียงครึ่งเดียว

เหตุการณ์ทั้งหมดนี้ดำเนินมาเป็นเวลา 2 ปีเต็ม ที่คนตักน้ำสามารถตักน้ำกลับบ้านได้ 1 ถัง
ครึ่ง ซึ่งแน่นอนว่าถังน้ำใบที่ไม่มีตำหนิจะรู้สึกภาคภูมิใจในผลงานเป็นอย่างยิ่ง

ในขณะเดียวกันถังน้ำที่มีรอยแตก ก็รู้สึกอับอายต่อความบกพร่องของตัวเองมันรู้สึกโศรก
เศร้ากับการที่มันสามารถทำหน้าที่ได้เพียงครึ่งเดียว ของจุดประสงค์ที่มันถูกสร้างขึ้นมา

หลังจากเวลา 2 ปี ที่ถังน้ำที่มีรอยแตก มองว่าเป็นความล้มเหลวอันขมขื่น วันหนึ่งที่ข้าง
ลำธารมันได้พูดกับคนตักน้ำว่า "ข้าฯรู้สึกอับอายตัวเอง เป็นเพราะรอยแตกด้านข้างของตัวข้าฯ ทำให้
น้ำที่อยู่ข้างในไหลออกมาตลอดเส้นทางที่กลับไปยังบ้านของท่าน"

คนตักน้ำตอบว่า "เจ้าเคยสังเกตุหรือไม่ว่า มีดอกไม้แบ่งบานอยู่ตลอดเส้นทางในด้าน
ของเจ้า แต่กลับไม่มีดอกไม้อยู่เลยในอีกด้านหนึ่ง เพราะข้าฯรู้ว่าเจ้ามีรอยแตกอยู่ ข้าฯจึงได้หว่าน
เมล็ดพันธ์ดอกไม้ลงข้างทางเดินด้านของเจ้า และทุกวันที่เราเดินกลับ.....เจ้าก็เป็นผู้รดน้ำให้กับเมล็ด
พันธ์เหล่านั้น"

"เป็นเวลา 2 ปี ที่ข้าฯสามารถที่จะเก็บดอกไม้สวย ๆ เหล่านั้น กลับมาแต่งโต๊ะกินข้าว ถ้า
ปราศจากเจ้าที่เป็นเจ้าแบบนี้แล้ว......เราก็คงไม่อาจได้รับความสวยงามแบบนี้ได้"

"คนเราแต่ละคนย่อมมีข้อบกพร่องที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง  แต่รอยตำหนิ และข้อบก
พร่องที่เราแต่ละคนมีนั้น อาจช่วยทำให้การอยู่ร่วมกันของเราน่าสนใจ และกลายเป็นบำเหน็จรางวัลของชีวิตได้ สิ่งที่ต้องทำก็เพียงแค่ยอมรับคนแต่ละคนในแบบที่เขาเป็น และมองหาสิ่งที่ดีที่สุดในตัว
ของพวกเขาเหล่านั้นเท่านั้นเอง"

"มองโลกหลาย  ๆ ด้าน  เพราะคนเราไม่ได้มีแต่ข้อเสียเท่านั้น"
(จริง ๆ)

"ถังที่แตกร้าว"

ชายจีนคนหนึ่งแบกถังน้ำ 2 ใบ ไว้บนบ่าเพื่อไปตักน้ำที่ริมธาร ถังน้ำใบหนึ่งมีรอยแตก ในขณะที่อีกใบหนึ่งไร้รอยตำหนิ และสามารถบรรจุน้ำกลับมาได้เต็มถัง แต่ด้วยระยะทางอันยาวใกลจากลำธารกลับสู่บ้าน จึงทำให้น้ำที่อยู่ในถังใบที่มีรอยแตกเหลืออยู่เพียงครึ่งเดียว

เหตุการณ์ทั้งหมดนี้ดำเนินมาเป็นเวลา 2 ปีเต็ม ที่คนตักน้ำสามารถตักน้ำกลับบ้านได้ 1 ถัง
ครึ่ง ซึ่งแน่นอนว่าถังน้ำใบที่ไม่มีตำหนิจะรู้สึกภาคภูมิใจในผลงานเป็นอย่างยิ่ง

ในขณะเดียวกันถังน้ำที่มีรอยแตก ก็รู้สึกอับอายต่อความบกพร่องของตัวเองมันรู้สึกโศรก
เศร้ากับการที่มันสามารถทำหน้าที่ได้เพียงครึ่งเดียว ของจุดประสงค์ที่มันถูกสร้างขึ้นมา

หลังจากเวลา 2 ปี ที่ถังน้ำที่มีรอยแตก มองว่าเป็นความล้มเหลวอันขมขื่น วันหนึ่งที่ข้าง
ลำธารมันได้พูดกับคนตักน้ำว่า "ข้าฯรู้สึกอับอายตัวเอง เป็นเพราะรอยแตกด้านข้างของตัวข้าฯ ทำให้
น้ำที่อยู่ข้างในไหลออกมาตลอดเส้นทางที่กลับไปยังบ้านของท่าน"

คนตักน้ำตอบว่า "เจ้าเคยสังเกตุหรือไม่ว่า มีดอกไม้แบ่งบานอยู่ตลอดเส้นทางในด้าน
ของเจ้า แต่กลับไม่มีดอกไม้อยู่เลยในอีกด้านหนึ่ง เพราะข้าฯรู้ว่าเจ้ามีรอยแตกอยู่ ข้าฯจึงได้หว่าน
เมล็ดพันธ์ดอกไม้ลงข้างทางเดินด้านของเจ้า และทุกวันที่เราเดินกลับ.....เจ้าก็เป็นผู้รดน้ำให้กับเมล็ด
พันธ์เหล่านั้น"

"เป็นเวลา 2 ปี ที่ข้าฯสามารถที่จะเก็บดอกไม้สวย ๆ เหล่านั้น กลับมาแต่งโต๊ะกินข้าว ถ้า
ปราศจากเจ้าที่เป็นเจ้าแบบนี้แล้ว......เราก็คงไม่อาจได้รับความสวยงามแบบนี้ได้"

"คนเราแต่ละคนย่อมมีข้อบกพร่องที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง  แต่รอยตำหนิ และข้อบก
พร่องที่เราแต่ละคนมีนั้น อาจช่วยทำให้การอยู่ร่วมกันของเราน่าสนใจ และกลายเป็นบำเหน็จรางวัลของชีวิตได้ สิ่งที่ต้องทำก็เพียงแค่ยอมรับคนแต่ละคนในแบบที่เขาเป็น และมองหาสิ่งที่ดีที่สุดในตัว
ของพวกเขาเหล่านั้นเท่านั้นเอง"

"มองโลกหลาย  ๆ ด้าน  เพราะคนเราไม่ได้มีแต่ข้อเสียเท่านั้น"
(จริง ๆ)

"ถังที่แตกร้าว"

                  ชายจีนคนหนึ่งแบกถังน้ำ 2 ใบ ไว้บนบ่าเพื่อไปตักน้ำที่ริมธาร  ถังน้ำใบหนึ่งมีรอยแตก  ในขณะที่อีกใบหนึ่งไร้รอยตำหนิ  และสามารถบรรจุน้ำกลับมาได้เต็มถัง  แต่ด้วยระยะทางอันยาวใกลจาก
ลำธารกลับสู่บ้าน  จึงทำให้น้ำที่อยู่ในถังใบที่มีรอยแตกเหลืออยู่เพียงครึ่งเดียว

                   เหตุการณ์ทั้งหมดนี้ดำเนินมาเป็นเวลา 2 ปี เต็มที่  คนตักน้ำสามารถตักน้ำกลับบ้านได้ 1 ถัง
ครึ่ง  ซึ่งแน่นอนว่าถังน้ำใบที่ไม่มีตำหนิจะรู้สึกภาคภูมิใจในผลงานเป็นอย่างยิ่ง

                   ในขณะเดียวกันถังน้ำที่มีรอยแตก  ก็รู้สึกอับอายต่อความบกพร่องของตัวเอง  มันรู้สึกโศรก
เศร้ากับการที่มันสามารถทำหน้าที่ได้เพียงครึ่งเดียว ของจุดประสงค์ที่มันถูกสร้างขึ้นมา

                   หลังจากเวลา 2 ปี  ที่ถังน้ำที่มีรอยแตก  มองว่าเป็นความล้มเหลวอันขมขื่น  วันหนึ่งที่ข้าง
ลำธารมันได้พูดกับคนตักน้ำว่า  "ข้าฯรู้สึกอับอายตัวเอง เป็นเพราะรอยแตกด้านข้างของตัวข้าฯ  ทำให้
น้ำที่อยู่ข้างในไหลออกมาตลอดเส้นทางที่กลับไปยังบ้านของท่าน"

                    คนตักน้ำตอบว่า   "เจ้าเคยสังเกตุหรือไม่ว่า มีดอกไม้แบ่งบานอยู่ตลอดเส้นทางในด้าน
ของเจ้า  แต่กลับไม่มีดอกไม้อยู่เลยในอีกด้านหนึ่ง  เพราะข้าฯรู้ว่าเจ้ามีรอยแตกอยู่  ข้าฯจึงได้หว่าน
เมล็ดพันธ์ดอกไม้ลงข้างทางเดินด้านของเจ้า  และทุกวันที่เราเดินกลับ.....เจ้าก็เป็นผู้รดน้ำให้กับเมล็ด
พันธ์เหล่านั้น"

                     "เป็นเวลา 2 ปี ที่ข้าฯสามารถที่จะเก็บดอกไม้สวย ๆ เหล่านั้น กลับมาแต่งโต๊ะกินข้าว  ถ้า
ปราศจากเจ้าที่เป็นเจ้าแบบนี้แล้ว......เราก็คงไม่อาจได้รับความสวยงามแบบนี้ได้"

                      "คนเราแต่ละคนย่อมมีข้อบกพร่องที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง  แต่รอยตำหนิ และข้อบก
พร่องที่เราแต่ละคนมีนั้น  อาจช่วยทำให้การอยู่ร่วมกันของเราน่าสนใจ  และกลายเป็นบำเหน็จรางวัลของชีวิตได้   สิ่งที่ต้องทำก็เพียงแค่ยอมรับคนแต่ละคนในแบบที่เขาเป็น  และมองหาสิ่งที่ดีที่สุดในตัว
ของพวกเขาเหล่านั้น  เท่านั้นเอง"

"มองโลกหลาย  ๆ ด้าน  เพราะคนเราไม่ได้มีแต่ข้อเสียเท่านั้น"
(จริง ๆ)
                 

Wednesday, October 27, 2010

ประชาธิปไตยแปลงร่าง ในสายตานักรัฐศาสตร์

นักรัฐศาสตร์ชี้ประชาธิปไตยไทยแปลงร่างเป็นทั้งเผด็จการพันธ์ใหม่และเป็นประชาธิปไตยอำนาจนิยม
โดย...ประดิษฐ์ เรืองดิษฐ์
สมาคนนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ร่วมกับสถาบันอิสรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย จัดราชดำเนินเสวนา เรื่อง "แนวโน้มสถานะประชาธิปไตยไทยท่ามกลางความขัดแย้ง"

นายฐิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์ อาจารย์ประคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ประชาธิปไตยขณะนี้มีความเป็นเผด็จการพันธ์ใหม่มากขึ้นมีการใช้อำนาจมากขึ้น ซึ่งดูได้ แม้ว่าขณะนี้ไม่ใช่เป็นทหารเต็มคณะเช่นในอดีตแต่เป็นทหารพลเรือนคือเป็นความร่วมมือระหว่างทหารกับพลเรือนในการใช้อำนาจ ศอฉ.กลายเป็นอำนาจนิยมไปแล้ว และเห็นว่า พฤติกรรมของ ศอฉ. คล้ายกับคณะปฏิวัติ จะเรียกใครมาสอบสวน จะแช่แข็งบัญชีของใครก็ได้ จะกักขังใครก็ได้ อำนาจของ ศอฉ. น่าเป็นห่วง เพราะไม่มีใครตรวจสอบ ใช้เงินมือเติบ ตอนนี้ใช้งบประมาณเท่าไรแล้วก็ไม่ทราบ ทั้งนี้อยากฝากถามว่าใช้งบประมาณไปเท่าไร

นายฐิตินันท์ กล่าวว่า ขณะนี้การทำงานของกองทัพและรัฐบาลเกื้อกูลกันมาก เช่น การซื้ออาวุธ การแต่งตั้งโยกย้าย และเรื่องการบริหารงานในภาคใต้ กองทัพถือเป็นเอกเทศ รัฐบาลจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลและกองทัพถือว่าสนับสนุนกัน และเชื่อว่าหากเปลี่ยน ผบ.ทบ. จะยิ่งมีความแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น และเชื่อว่ากองทัพจะไม่ยอมถอยกลับง่ายๆ ออกไปจากการเมืองไทยง่ายๆจากความขัดแย้งทางการเมืองไทยในครั้งนี้ และเชื่อว่ากลไกของ ศอฉ.จะยังคงอยู่ต่อเนื่องลากยาวเลื้อยไปถึงปลายปีหรือต้นปีหน้า โดยอ้างเหตุผลความจำเป็น

"วันนี้ ควรยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เพราะเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน และถือว่าไม่ใช่สังคมประชาธิปไตย และหากคงอยู่นายก็จะยิ่งสร้างความเก็บกดในพื้นที่ต่างจังหวัด ซึ่งหากคุมไม่อยู่"นายฐิตินันท์กล่าว
นายฐิตินันท์ กล่าวว่า เชื่อว่ารัฐบาลอภิสิทธิ์ จะอยู่เกือบครบเทอม อย่างน้อยคือ 2 สัปดาห์ก่อนครบเทอมค่อยประกาศยุบสภา แต่ทั้งนี้เชื่อว่ารัฐบาลคงไม่อยากเลือกตั้งเพราะหากให้ประเมินการเลือกตั้งระหว่างพรรคประชาธิปัตย์กับพรรคเพื่อไทย พรรคประชาธิปัตย์ยังมีโอกาสแพ้มาก และคงต้องอาศัยพรรคร่วมอีกครั้ง

ด้าน นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่าประชาธิปไตยไทยจะมีลักษณะอำนาจนิยมมากขึ้น แต่ไม่ได้เป็นเผด็จการพันธ์ใหม่แต่อย่างใด เพราะความขัดแย้งที่เกิดขึ้นประชาชนอีกกลุ่มหนึ่งก็ต้องการให้รัฐใช้ความเด็ดขาดเพื่อรักษากฎหมายของประเทศ ซึ่งภาวะเช่นนี้ก็จะอยู่อีกระยะหนึ่ง นอกจากนี้สังคมไทยจะมีความแตกแยก ขัดแย้ง มากยิ่งขึ้นเพียงแต่เราจะทำให้ความขัดแย้งแตกแยกนี้อยู่ในกติกาและมีความเป็นศรีวิไลได้อย่างไร
เขาอธิบายว่า ประชาธิปไตยไทยที่ผ่านมา ไม่ได้อยู่นิ่งอยู่กับที่ ในช่วง 25 ปีแรกนับจากปี 2475 เป็นลักษณะกึ่งประชาธิปไตย ที่มีคณะราษฎร์มีบทบาท แต่ช่วงหลังปี 2500 ถึง ปี 2516 กลายเป็นเผด็จการทหารเต็มรูปแบบ เนื่องจากทหารเข้ามามีอำนาจอย่างมาก หลังปี 2516 ประชาธิปไตยไทยมีการแบ่งปันอำนาจกันมากขึ้นระหว่างทหาร ข้าราชการประจำ นักธุรกิจ นายทุนจากชนบนบท รัฐบาลในช่วงนั้นเป็นรัฐบาลผสม มีการแบ่งอำนาจกันในหมู่ชุนชั้นนำกลุ่มต่างๆ
อาจารย์นครินทร์ เห็นว่า รัฐธรรมนูญ 2540 ถือว่าเป็นการปฏิวัติการเมืองครั้งใหญ่ มีการเปลี่ยนระบบการเมือง ทำให้ระบบรัฐสภาดั้งเดิมที่แบ่งอำนาจให้หลายฝ่ายต้องยุติไป ในวันนั้น สังคมไทยรวมทั้งวงวิชาการต้องการให้เกิดพัฒนาการทางการเมือง เพื่อให้เป็นพรรคการเมือง 2 พรรค ซึ่งในที่สุดก็ส่งผลให้เกิดรัฐบาลพรรคเดียว นอกจากนี้ มีการเพิ่มอำนาจให้องค์กรอิสระต่างๆ ทั้ง กกต. ป.ป.ช. ซึ่งเป็นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

“ผมเห็นว่า รัฐธรรมนูญปี 2540 เป็นสาเหตุสำคัญ ที่ทำให้การเมืองไทยมีปัญหาในปัจุบัน และหลักการดังกล่าวก็ตกทอดมาถึงรัฐธรรมนูญปี 2550 ซึ่งส่วนหนึ่งโดยเฉพาะนักวิชาการ นักธุรกิจในเวลานั้น ไม่ชอบรัฐบาลผสม มองในแง่ร้าย เพราะเชื่อว่าเป็นการจัดรัฐบาลแบบการฮั้วกัน แบ่งกันกิน ดังนั้นการต่อสู้ทางการเมืองไทยยังอยู่ในกรอบนี้ต่อไป
อย่างไรก็ตามอาจารย์นครินทร์ เชื่อว่าจะเกิดการยุบสภา และมีการเลือกตั้งใหม่ในช่วงต้นปีหน้า ทั้งนี้ตนคาดเดาจากการคุยกับแกนนำพรรครัฐบาล หลายๆ คน
“ผมเชื่อว่ารัฐบาลไม่ได้กลัวการเลือกตั้ง เพราะสุดท้ายรัฐบาลจะเป็นรัฐบาลผสม และการเลือกตั้งหากได้รัฐบาลใหม่ก็จะได้รับการยอมรับมากขึ้น แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมว่ามีความสงบมากเพียงใด ถ้ายังมีความวุ่นวาย มีการก่อกวน ก็คงยังไม่สามารถเลือกตั้งได้

นาย สุริชัย หวันแก้ว ผอ.ศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ล่าวว่าสถานะประชาธิปไตยไทยท่ามกลางความขัดแย้ง เกิดความไม่มั่นคง ไม่แน่นอนที่พวกเรารู้สึกได้ เกิดความเสี่ยงต่อภาวะสังคมที่ไร้บรรทัดฐาน ภาวะสังคมแตกเป็นเสี่ยง คนไทยชาวบ้านทั่วไป ยังรู้สึกว่าประชาธิปไตยไทยอยู่ในภาวะวิกฤต เพราะสิ่งที่เกิดขึ้น มีหลายสิ่งเหนือความคาดหมาย เหนือการคาดการณ์ และทำให้ความรุนแรงกลายเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงการเมืองไทยไปแล้ว
เขาเห็นว่าในขณะนี้คนส่วนหนึ่งอยากจะลืมเลือนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ต้องการให้ลืมความทุกความโศกเศร้า ไม่ต้องใส่ใจคน เจ็บ คนพิการหรือคนตาย
“หากสังคมไทยไม่เรียนรู้ หรือทำความเข้าใจที่เกิดขึ้น เรียนรู้สรุปบทเรียนประชาธิปไตยของเรา หรือยังมองคนตายเป็นคนอีกกลุ่มหนึ่งไม่ใช้เพื่อนร่วมสังคม ยังคงใช้แนวทางการเมืองเชิงปริปักษ์ ความโกรธ ความเกลียด อคติส่วน เป็นตัวนำในการขับเคลื่อนสังคมไปสู่อนาคต แนวโน้มประชาธิปไตยของไทยก็จะเสี่ยงต่อความรุนแรงเกิดขึ้นได้อีก “นายสุริชัยให้ความเห็น
สิ่งที่น่าเป็นห่วงสถานการณ์ขณะนี้นายสุริชัย เห็นว่าบรรยากาศ ที่แต่ละฝ่ายทำให้คนที่คิดต่าง กลายเป็นอยู่ฝั่งตรงข้าม กลายเป็นอาชญากรโดยอำนาจพิเศษ เกมส์การโจมตีใส่ร้าย ซึ่งจะเป็นตัวเร่งและเพิ่มความขัดแย้งให้รุนแรงมากกว่าการลดเงื่อนไงความรุนแรง
เขาตั้งข้อสังเกตุว่า การปรองดองแห่งชาติของรัฐบาล ต้องดูว่า คนในสังคมต้องให้มีการปฏิรูปเชิงโครงสร้างมากน้อยเพียงใด หรือการปฏิรูปมีการเปิดโอกาสให้คนหลายกลุ่มได้พูดถึงปัญหาหรือไม่ สังคมไทย ยินดีหรือไม่ที่จะปล่อยให้รัฐบาลใช้เครื่องมือ พ.ร.ก. มาปิดกั้นเสรีภาพ ขณะที่ชวนให้คนไทยมาพูดถึงอนาคต
“หากรัฐบาลยังไม่ปรับท่าที ยังคงใช้แต่เครื่องมือคือ พ.ร.ก. บริหารสถานการณฉุกเฉิน ก็น่ากังวลว่าอนาคตจะเข้าสู่ภาวะตีบตันอีกครั้ง การปรองดองที่จะเกิดขึ้นก็คงยาก ทางที่ดีรัฐบาลจะต้องเปิดพื้นที่การพูดคุยกับคนทุกฝ่าย”นายสุริชัยกล่าว
นายสุริชัยเห็นว่าประชาธิปไตยของไทยต้องก้าข้ามวัฒนธรรมอำนาจทุกระดับ การเมืองแบบอุปถัมภ์ จะต้องข้ามการมืองแบบผู้ชนะแบบกินรวบ ไปสู่การเมืองแบบอยู่ร่วมกันอย่างไร นี้คือความท้าทายของสังคมไทย
ขณะนี้การเมืองประชาธิปไตยไทยเรียกได้ว่าไม่โต แถมยังมีอาการร่อแร่ ซึ่งส่วนหนึ่งมาเป็นเพราะการรัฐประหาร เกิดจากทหารไม่ปล่อยวางอำนาจ ทำให้ประชาธิปไตยล้มลุกคลุกคลาน นอกจากนี้ที่เป็นอุปสรรคปัญหาคือการมีนักธุรกิจเข้าสู่การเมืองมากขึ้น พัฒนาให้มีการซื้อเสียง หรือถ้ารวยมากๆ ก็ซื้อ ส.ส. ซื้อพรรคการเมือง หรือถึงขั้นซื้อองค์กรอิสระ ไม่ให้ตรวจสอบการทำงาน ดังนั้นการยึดอำนาจในประเทศไทยนอกจากจะทำโดยการใช้รถถัง ยังสามารถใช้เงินซื้อได้ด้วย
อย่างไรก็ตามการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคมขณะนี้ ไม่สามารถขจัดความขัดแย้งเห็นและยังมีแนวโน้มนำไปสู่ความรุนแรงมมากขึ้น ไม่สามารถเอาชนะกันได้ในสภาก็เล่นกันข้างถนน เล่นเกมใต้ดิน ซึ่งเป็นวิธีที่อันตรายมาก รวมทั้งวิธีคิดว่าจะต้องมีการเสียชีวิตเกิดขึ้นถึงจะมีการชนะ แต่เหตุการณ์ครั้งนี้ถึงแม้มีผู้เสียชีวิตก็ยังไม่มีผู้ชนะ นอกจากนี้ตนเห็นว่าแม้จะมีการแก้รัฐธรรมนูญก็คงไม่สามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งได้ ทั้งนี้สิ่งที่ต้องพยายามคือนำการเมืองในท้องถนนกลับเข้าไปสู่ในสภาให้ได้

ประชาธิปไตยแปลงร่าง ในสายตานักรัฐศาสตร์

นักรัฐศาสตร์ชี้ประชาธิปไตยไทยแปลงร่างเป็นทั้งเผด็จการพันธ์ใหม่และเป็นประชาธิปไตยอำนาจนิยม
โดย...ประดิษฐ์ เรืองดิษฐ์
สมาคนนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ร่วมกับสถาบันอิสรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย จัดราชดำเนินเสวนา เรื่อง "แนวโน้มสถานะประชาธิปไตยไทยท่ามกลางความขัดแย้ง"

นายฐิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์ อาจารย์ประคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ประชาธิปไตยขณะนี้มีความเป็นเผด็จการพันธ์ใหม่มากขึ้นมีการใช้อำนาจมากขึ้น ซึ่งดูได้ แม้ว่าขณะนี้ไม่ใช่เป็นทหารเต็มคณะเช่นในอดีตแต่เป็นทหารพลเรือนคือเป็นความร่วมมือระหว่างทหารกับพลเรือนในการใช้อำนาจ ศอฉ.กลายเป็นอำนาจนิยมไปแล้ว และเห็นว่า พฤติกรรมของ ศอฉ. คล้ายกับคณะปฏิวัติ จะเรียกใครมาสอบสวน จะแช่แข็งบัญชีของใครก็ได้ จะกักขังใครก็ได้ อำนาจของ ศอฉ. น่าเป็นห่วง เพราะไม่มีใครตรวจสอบ ใช้เงินมือเติบ ตอนนี้ใช้งบประมาณเท่าไรแล้วก็ไม่ทราบ ทั้งนี้อยากฝากถามว่าใช้งบประมาณไปเท่าไร

นายฐิตินันท์ กล่าวว่า ขณะนี้การทำงานของกองทัพและรัฐบาลเกื้อกูลกันมาก เช่น การซื้ออาวุธ การแต่งตั้งโยกย้าย และเรื่องการบริหารงานในภาคใต้ กองทัพถือเป็นเอกเทศ รัฐบาลจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลและกองทัพถือว่าสนับสนุนกัน และเชื่อว่าหากเปลี่ยน ผบ.ทบ. จะยิ่งมีความแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น และเชื่อว่ากองทัพจะไม่ยอมถอยกลับง่ายๆ ออกไปจากการเมืองไทยง่ายๆจากความขัดแย้งทางการเมืองไทยในครั้งนี้ และเชื่อว่ากลไกของ ศอฉ.จะยังคงอยู่ต่อเนื่องลากยาวเลื้อยไปถึงปลายปีหรือต้นปีหน้า โดยอ้างเหตุผลความจำเป็น

"วันนี้ ควรยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เพราะเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน และถือว่าไม่ใช่สังคมประชาธิปไตย และหากคงอยู่นายก็จะยิ่งสร้างความเก็บกดในพื้นที่ต่างจังหวัด ซึ่งหากคุมไม่อยู่"นายฐิตินันท์กล่าว
นายฐิตินันท์ กล่าวว่า เชื่อว่ารัฐบาลอภิสิทธิ์ จะอยู่เกือบครบเทอม อย่างน้อยคือ 2 สัปดาห์ก่อนครบเทอมค่อยประกาศยุบสภา แต่ทั้งนี้เชื่อว่ารัฐบาลคงไม่อยากเลือกตั้งเพราะหากให้ประเมินการเลือกตั้งระหว่างพรรคประชาธิปัตย์กับพรรคเพื่อไทย พรรคประชาธิปัตย์ยังมีโอกาสแพ้มาก และคงต้องอาศัยพรรคร่วมอีกครั้ง

ด้าน นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่าประชาธิปไตยไทยจะมีลักษณะอำนาจนิยมมากขึ้น แต่ไม่ได้เป็นเผด็จการพันธ์ใหม่แต่อย่างใด เพราะความขัดแย้งที่เกิดขึ้นประชาชนอีกกลุ่มหนึ่งก็ต้องการให้รัฐใช้ความเด็ดขาดเพื่อรักษากฎหมายของประเทศ ซึ่งภาวะเช่นนี้ก็จะอยู่อีกระยะหนึ่ง นอกจากนี้สังคมไทยจะมีความแตกแยก ขัดแย้ง มากยิ่งขึ้นเพียงแต่เราจะทำให้ความขัดแย้งแตกแยกนี้อยู่ในกติกาและมีความเป็นศรีวิไลได้อย่างไร
เขาอธิบายว่า ประชาธิปไตยไทยที่ผ่านมา ไม่ได้อยู่นิ่งอยู่กับที่ ในช่วง 25 ปีแรกนับจากปี 2475 เป็นลักษณะกึ่งประชาธิปไตย ที่มีคณะราษฎร์มีบทบาท แต่ช่วงหลังปี 2500 ถึง ปี 2516 กลายเป็นเผด็จการทหารเต็มรูปแบบ เนื่องจากทหารเข้ามามีอำนาจอย่างมาก หลังปี 2516 ประชาธิปไตยไทยมีการแบ่งปันอำนาจกันมากขึ้นระหว่างทหาร ข้าราชการประจำ นักธุรกิจ นายทุนจากชนบนบท รัฐบาลในช่วงนั้นเป็นรัฐบาลผสม มีการแบ่งอำนาจกันในหมู่ชุนชั้นนำกลุ่มต่างๆ
อาจารย์นครินทร์ เห็นว่า รัฐธรรมนูญ 2540 ถือว่าเป็นการปฏิวัติการเมืองครั้งใหญ่ มีการเปลี่ยนระบบการเมือง ทำให้ระบบรัฐสภาดั้งเดิมที่แบ่งอำนาจให้หลายฝ่ายต้องยุติไป ในวันนั้น สังคมไทยรวมทั้งวงวิชาการต้องการให้เกิดพัฒนาการทางการเมือง เพื่อให้เป็นพรรคการเมือง 2 พรรค ซึ่งในที่สุดก็ส่งผลให้เกิดรัฐบาลพรรคเดียว นอกจากนี้ มีการเพิ่มอำนาจให้องค์กรอิสระต่างๆ ทั้ง กกต. ป.ป.ช. ซึ่งเป็นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

“ผมเห็นว่า รัฐธรรมนูญปี 2540 เป็นสาเหตุสำคัญ ที่ทำให้การเมืองไทยมีปัญหาในปัจุบัน และหลักการดังกล่าวก็ตกทอดมาถึงรัฐธรรมนูญปี 2550 ซึ่งส่วนหนึ่งโดยเฉพาะนักวิชาการ นักธุรกิจในเวลานั้น ไม่ชอบรัฐบาลผสม มองในแง่ร้าย เพราะเชื่อว่าเป็นการจัดรัฐบาลแบบการฮั้วกัน แบ่งกันกิน ดังนั้นการต่อสู้ทางการเมืองไทยยังอยู่ในกรอบนี้ต่อไป
อย่างไรก็ตามอาจารย์นครินทร์ เชื่อว่าจะเกิดการยุบสภา และมีการเลือกตั้งใหม่ในช่วงต้นปีหน้า ทั้งนี้ตนคาดเดาจากการคุยกับแกนนำพรรครัฐบาล หลายๆ คน
“ผมเชื่อว่ารัฐบาลไม่ได้กลัวการเลือกตั้ง เพราะสุดท้ายรัฐบาลจะเป็นรัฐบาลผสม และการเลือกตั้งหากได้รัฐบาลใหม่ก็จะได้รับการยอมรับมากขึ้น แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมว่ามีความสงบมากเพียงใด ถ้ายังมีความวุ่นวาย มีการก่อกวน ก็คงยังไม่สามารถเลือกตั้งได้

นาย สุริชัย หวันแก้ว ผอ.ศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ล่าวว่าสถานะประชาธิปไตยไทยท่ามกลางความขัดแย้ง เกิดความไม่มั่นคง ไม่แน่นอนที่พวกเรารู้สึกได้ เกิดความเสี่ยงต่อภาวะสังคมที่ไร้บรรทัดฐาน ภาวะสังคมแตกเป็นเสี่ยง คนไทยชาวบ้านทั่วไป ยังรู้สึกว่าประชาธิปไตยไทยอยู่ในภาวะวิกฤต เพราะสิ่งที่เกิดขึ้น มีหลายสิ่งเหนือความคาดหมาย เหนือการคาดการณ์ และทำให้ความรุนแรงกลายเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงการเมืองไทยไปแล้ว
เขาเห็นว่าในขณะนี้คนส่วนหนึ่งอยากจะลืมเลือนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ต้องการให้ลืมความทุกความโศกเศร้า ไม่ต้องใส่ใจคน เจ็บ คนพิการหรือคนตาย
“หากสังคมไทยไม่เรียนรู้ หรือทำความเข้าใจที่เกิดขึ้น เรียนรู้สรุปบทเรียนประชาธิปไตยของเรา หรือยังมองคนตายเป็นคนอีกกลุ่มหนึ่งไม่ใช้เพื่อนร่วมสังคม ยังคงใช้แนวทางการเมืองเชิงปริปักษ์ ความโกรธ ความเกลียด อคติส่วน เป็นตัวนำในการขับเคลื่อนสังคมไปสู่อนาคต แนวโน้มประชาธิปไตยของไทยก็จะเสี่ยงต่อความรุนแรงเกิดขึ้นได้อีก “นายสุริชัยให้ความเห็น
สิ่งที่น่าเป็นห่วงสถานการณ์ขณะนี้นายสุริชัย เห็นว่าบรรยากาศ ที่แต่ละฝ่ายทำให้คนที่คิดต่าง กลายเป็นอยู่ฝั่งตรงข้าม กลายเป็นอาชญากรโดยอำนาจพิเศษ เกมส์การโจมตีใส่ร้าย ซึ่งจะเป็นตัวเร่งและเพิ่มความขัดแย้งให้รุนแรงมากกว่าการลดเงื่อนไงความรุนแรง
เขาตั้งข้อสังเกตุว่า การปรองดองแห่งชาติของรัฐบาล ต้องดูว่า คนในสังคมต้องให้มีการปฏิรูปเชิงโครงสร้างมากน้อยเพียงใด หรือการปฏิรูปมีการเปิดโอกาสให้คนหลายกลุ่มได้พูดถึงปัญหาหรือไม่ สังคมไทย ยินดีหรือไม่ที่จะปล่อยให้รัฐบาลใช้เครื่องมือ พ.ร.ก. มาปิดกั้นเสรีภาพ ขณะที่ชวนให้คนไทยมาพูดถึงอนาคต
“หากรัฐบาลยังไม่ปรับท่าที ยังคงใช้แต่เครื่องมือคือ พ.ร.ก. บริหารสถานการณฉุกเฉิน ก็น่ากังวลว่าอนาคตจะเข้าสู่ภาวะตีบตันอีกครั้ง การปรองดองที่จะเกิดขึ้นก็คงยาก ทางที่ดีรัฐบาลจะต้องเปิดพื้นที่การพูดคุยกับคนทุกฝ่าย”นายสุริชัยกล่าว
นายสุริชัยเห็นว่าประชาธิปไตยของไทยต้องก้าข้ามวัฒนธรรมอำนาจทุกระดับ การเมืองแบบอุปถัมภ์ จะต้องข้ามการมืองแบบผู้ชนะแบบกินรวบ ไปสู่การเมืองแบบอยู่ร่วมกันอย่างไร นี้คือความท้าทายของสังคมไทย
ขณะนี้การเมืองประชาธิปไตยไทยเรียกได้ว่าไม่โต แถมยังมีอาการร่อแร่ ซึ่งส่วนหนึ่งมาเป็นเพราะการรัฐประหาร เกิดจากทหารไม่ปล่อยวางอำนาจ ทำให้ประชาธิปไตยล้มลุกคลุกคลาน นอกจากนี้ที่เป็นอุปสรรคปัญหาคือการมีนักธุรกิจเข้าสู่การเมืองมากขึ้น พัฒนาให้มีการซื้อเสียง หรือถ้ารวยมากๆ ก็ซื้อ ส.ส. ซื้อพรรคการเมือง หรือถึงขั้นซื้อองค์กรอิสระ ไม่ให้ตรวจสอบการทำงาน ดังนั้นการยึดอำนาจในประเทศไทยนอกจากจะทำโดยการใช้รถถัง ยังสามารถใช้เงินซื้อได้ด้วย
อย่างไรก็ตามการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคมขณะนี้ ไม่สามารถขจัดความขัดแย้งเห็นและยังมีแนวโน้มนำไปสู่ความรุนแรงมมากขึ้น ไม่สามารถเอาชนะกันได้ในสภาก็เล่นกันข้างถนน เล่นเกมใต้ดิน ซึ่งเป็นวิธีที่อันตรายมาก รวมทั้งวิธีคิดว่าจะต้องมีการเสียชีวิตเกิดขึ้นถึงจะมีการชนะ แต่เหตุการณ์ครั้งนี้ถึงแม้มีผู้เสียชีวิตก็ยังไม่มีผู้ชนะ นอกจากนี้ตนเห็นว่าแม้จะมีการแก้รัฐธรรมนูญก็คงไม่สามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งได้ ทั้งนี้สิ่งที่ต้องพยายามคือนำการเมืองในท้องถนนกลับเข้าไปสู่ในสภาให้ได้

ประชาธิปไตยแปลงร่าง ในสายตานักรัฐศาสตร์

นักรัฐศาสตร์ชี้ประชาธิปไตยไทยแปลงร่างเป็นทั้งเผด็จการพันธ์ใหม่และเป็นประชาธิปไตยอำนาจนิยม
โดย...ประดิษฐ์ เรืองดิษฐ์
สมาคนนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ร่วมกับสถาบันอิสรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย จัดราชดำเนินเสวนา เรื่อง "แนวโน้มสถานะประชาธิปไตยไทยท่ามกลางความขัดแย้ง"

นายฐิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์ อาจารย์ประคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ประชาธิปไตยขณะนี้มีความเป็นเผด็จการพันธ์ใหม่มากขึ้นมีการใช้อำนาจมากขึ้น ซึ่งดูได้ แม้ว่าขณะนี้ไม่ใช่เป็นทหารเต็มคณะเช่นในอดีตแต่เป็นทหารพลเรือนคือเป็นความร่วมมือระหว่างทหารกับพลเรือนในการใช้อำนาจ ศอฉ.กลายเป็นอำนาจนิยมไปแล้ว และเห็นว่า พฤติกรรมของ ศอฉ. คล้ายกับคณะปฏิวัติ จะเรียกใครมาสอบสวน จะแช่แข็งบัญชีของใครก็ได้ จะกักขังใครก็ได้ อำนาจของ ศอฉ. น่าเป็นห่วง เพราะไม่มีใครตรวจสอบ ใช้เงินมือเติบ ตอนนี้ใช้งบประมาณเท่าไรแล้วก็ไม่ทราบ ทั้งนี้อยากฝากถามว่าใช้งบประมาณไปเท่าไร

นายฐิตินันท์ กล่าวว่า ขณะนี้การทำงานของกองทัพและรัฐบาลเกื้อกูลกันมาก เช่น การซื้ออาวุธ การแต่งตั้งโยกย้าย และเรื่องการบริหารงานในภาคใต้ กองทัพถือเป็นเอกเทศ รัฐบาลจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลและกองทัพถือว่าสนับสนุนกัน และเชื่อว่าหากเปลี่ยน ผบ.ทบ. จะยิ่งมีความแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น และเชื่อว่ากองทัพจะไม่ยอมถอยกลับง่ายๆ ออกไปจากการเมืองไทยง่ายๆจากความขัดแย้งทางการเมืองไทยในครั้งนี้ และเชื่อว่ากลไกของ ศอฉ.จะยังคงอยู่ต่อเนื่องลากยาวเลื้อยไปถึงปลายปีหรือต้นปีหน้า โดยอ้างเหตุผลความจำเป็น

"วันนี้ ควรยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เพราะเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน และถือว่าไม่ใช่สังคมประชาธิปไตย และหากคงอยู่นายก็จะยิ่งสร้างความเก็บกดในพื้นที่ต่างจังหวัด ซึ่งหากคุมไม่อยู่"นายฐิตินันท์กล่าว
นายฐิตินันท์ กล่าวว่า เชื่อว่ารัฐบาลอภิสิทธิ์ จะอยู่เกือบครบเทอม อย่างน้อยคือ 2 สัปดาห์ก่อนครบเทอมค่อยประกาศยุบสภา แต่ทั้งนี้เชื่อว่ารัฐบาลคงไม่อยากเลือกตั้งเพราะหากให้ประเมินการเลือกตั้งระหว่างพรรคประชาธิปัตย์กับพรรคเพื่อไทย พรรคประชาธิปัตย์ยังมีโอกาสแพ้มาก และคงต้องอาศัยพรรคร่วมอีกครั้ง

ด้าน นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่าประชาธิปไตยไทยจะมีลักษณะอำนาจนิยมมากขึ้น แต่ไม่ได้เป็นเผด็จการพันธ์ใหม่แต่อย่างใด เพราะความขัดแย้งที่เกิดขึ้นประชาชนอีกกลุ่มหนึ่งก็ต้องการให้รัฐใช้ความเด็ดขาดเพื่อรักษากฎหมายของประเทศ ซึ่งภาวะเช่นนี้ก็จะอยู่อีกระยะหนึ่ง นอกจากนี้สังคมไทยจะมีความแตกแยก ขัดแย้ง มากยิ่งขึ้นเพียงแต่เราจะทำให้ความขัดแย้งแตกแยกนี้อยู่ในกติกาและมีความเป็นศรีวิไลได้อย่างไร
เขาอธิบายว่า ประชาธิปไตยไทยที่ผ่านมา ไม่ได้อยู่นิ่งอยู่กับที่ ในช่วง 25 ปีแรกนับจากปี 2475 เป็นลักษณะกึ่งประชาธิปไตย ที่มีคณะราษฎร์มีบทบาท แต่ช่วงหลังปี 2500 ถึง ปี 2516 กลายเป็นเผด็จการทหารเต็มรูปแบบ เนื่องจากทหารเข้ามามีอำนาจอย่างมาก หลังปี 2516 ประชาธิปไตยไทยมีการแบ่งปันอำนาจกันมากขึ้นระหว่างทหาร ข้าราชการประจำ นักธุรกิจ นายทุนจากชนบนบท รัฐบาลในช่วงนั้นเป็นรัฐบาลผสม มีการแบ่งอำนาจกันในหมู่ชุนชั้นนำกลุ่มต่างๆ
อาจารย์นครินทร์ เห็นว่า รัฐธรรมนูญ 2540 ถือว่าเป็นการปฏิวัติการเมืองครั้งใหญ่ มีการเปลี่ยนระบบการเมือง ทำให้ระบบรัฐสภาดั้งเดิมที่แบ่งอำนาจให้หลายฝ่ายต้องยุติไป ในวันนั้น สังคมไทยรวมทั้งวงวิชาการต้องการให้เกิดพัฒนาการทางการเมือง เพื่อให้เป็นพรรคการเมือง 2 พรรค ซึ่งในที่สุดก็ส่งผลให้เกิดรัฐบาลพรรคเดียว นอกจากนี้ มีการเพิ่มอำนาจให้องค์กรอิสระต่างๆ ทั้ง กกต. ป.ป.ช. ซึ่งเป็นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

“ผมเห็นว่า รัฐธรรมนูญปี 2540 เป็นสาเหตุสำคัญ ที่ทำให้การเมืองไทยมีปัญหาในปัจุบัน และหลักการดังกล่าวก็ตกทอดมาถึงรัฐธรรมนูญปี 2550 ซึ่งส่วนหนึ่งโดยเฉพาะนักวิชาการ นักธุรกิจในเวลานั้น ไม่ชอบรัฐบาลผสม มองในแง่ร้าย เพราะเชื่อว่าเป็นการจัดรัฐบาลแบบการฮั้วกัน แบ่งกันกิน ดังนั้นการต่อสู้ทางการเมืองไทยยังอยู่ในกรอบนี้ต่อไป
อย่างไรก็ตามอาจารย์นครินทร์ เชื่อว่าจะเกิดการยุบสภา และมีการเลือกตั้งใหม่ในช่วงต้นปีหน้า ทั้งนี้ตนคาดเดาจากการคุยกับแกนนำพรรครัฐบาล หลายๆ คน
“ผมเชื่อว่ารัฐบาลไม่ได้กลัวการเลือกตั้ง เพราะสุดท้ายรัฐบาลจะเป็นรัฐบาลผสม และการเลือกตั้งหากได้รัฐบาลใหม่ก็จะได้รับการยอมรับมากขึ้น แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมว่ามีความสงบมากเพียงใด ถ้ายังมีความวุ่นวาย มีการก่อกวน ก็คงยังไม่สามารถเลือกตั้งได้

นาย สุริชัย หวันแก้ว ผอ.ศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ล่าวว่าสถานะประชาธิปไตยไทยท่ามกลางความขัดแย้ง เกิดความไม่มั่นคง ไม่แน่นอนที่พวกเรารู้สึกได้ เกิดความเสี่ยงต่อภาวะสังคมที่ไร้บรรทัดฐาน ภาวะสังคมแตกเป็นเสี่ยง คนไทยชาวบ้านทั่วไป ยังรู้สึกว่าประชาธิปไตยไทยอยู่ในภาวะวิกฤต เพราะสิ่งที่เกิดขึ้น มีหลายสิ่งเหนือความคาดหมาย เหนือการคาดการณ์ และทำให้ความรุนแรงกลายเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงการเมืองไทยไปแล้ว
เขาเห็นว่าในขณะนี้คนส่วนหนึ่งอยากจะลืมเลือนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ต้องการให้ลืมความทุกความโศกเศร้า ไม่ต้องใส่ใจคน เจ็บ คนพิการหรือคนตาย
“หากสังคมไทยไม่เรียนรู้ หรือทำความเข้าใจที่เกิดขึ้น เรียนรู้สรุปบทเรียนประชาธิปไตยของเรา หรือยังมองคนตายเป็นคนอีกกลุ่มหนึ่งไม่ใช้เพื่อนร่วมสังคม ยังคงใช้แนวทางการเมืองเชิงปริปักษ์ ความโกรธ ความเกลียด อคติส่วน เป็นตัวนำในการขับเคลื่อนสังคมไปสู่อนาคต แนวโน้มประชาธิปไตยของไทยก็จะเสี่ยงต่อความรุนแรงเกิดขึ้นได้อีก “นายสุริชัยให้ความเห็น
สิ่งที่น่าเป็นห่วงสถานการณ์ขณะนี้นายสุริชัย เห็นว่าบรรยากาศ ที่แต่ละฝ่ายทำให้คนที่คิดต่าง กลายเป็นอยู่ฝั่งตรงข้าม กลายเป็นอาชญากรโดยอำนาจพิเศษ เกมส์การโจมตีใส่ร้าย ซึ่งจะเป็นตัวเร่งและเพิ่มความขัดแย้งให้รุนแรงมากกว่าการลดเงื่อนไงความรุนแรง
เขาตั้งข้อสังเกตุว่า การปรองดองแห่งชาติของรัฐบาล ต้องดูว่า คนในสังคมต้องให้มีการปฏิรูปเชิงโครงสร้างมากน้อยเพียงใด หรือการปฏิรูปมีการเปิดโอกาสให้คนหลายกลุ่มได้พูดถึงปัญหาหรือไม่ สังคมไทย ยินดีหรือไม่ที่จะปล่อยให้รัฐบาลใช้เครื่องมือ พ.ร.ก. มาปิดกั้นเสรีภาพ ขณะที่ชวนให้คนไทยมาพูดถึงอนาคต
“หากรัฐบาลยังไม่ปรับท่าที ยังคงใช้แต่เครื่องมือคือ พ.ร.ก. บริหารสถานการณฉุกเฉิน ก็น่ากังวลว่าอนาคตจะเข้าสู่ภาวะตีบตันอีกครั้ง การปรองดองที่จะเกิดขึ้นก็คงยาก ทางที่ดีรัฐบาลจะต้องเปิดพื้นที่การพูดคุยกับคนทุกฝ่าย”นายสุริชัยกล่าว
นายสุริชัยเห็นว่าประชาธิปไตยของไทยต้องก้าข้ามวัฒนธรรมอำนาจทุกระดับ การเมืองแบบอุปถัมภ์ จะต้องข้ามการมืองแบบผู้ชนะแบบกินรวบ ไปสู่การเมืองแบบอยู่ร่วมกันอย่างไร นี้คือความท้าทายของสังคมไทย
ขณะนี้การเมืองประชาธิปไตยไทยเรียกได้ว่าไม่โต แถมยังมีอาการร่อแร่ ซึ่งส่วนหนึ่งมาเป็นเพราะการรัฐประหาร เกิดจากทหารไม่ปล่อยวางอำนาจ ทำให้ประชาธิปไตยล้มลุกคลุกคลาน นอกจากนี้ที่เป็นอุปสรรคปัญหาคือการมีนักธุรกิจเข้าสู่การเมืองมากขึ้น พัฒนาให้มีการซื้อเสียง หรือถ้ารวยมากๆ ก็ซื้อ ส.ส. ซื้อพรรคการเมือง หรือถึงขั้นซื้อองค์กรอิสระ ไม่ให้ตรวจสอบการทำงาน ดังนั้นการยึดอำนาจในประเทศไทยนอกจากจะทำโดยการใช้รถถัง ยังสามารถใช้เงินซื้อได้ด้วย
อย่างไรก็ตามการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคมขณะนี้ ไม่สามารถขจัดความขัดแย้งเห็นและยังมีแนวโน้มนำไปสู่ความรุนแรงมมากขึ้น ไม่สามารถเอาชนะกันได้ในสภาก็เล่นกันข้างถนน เล่นเกมใต้ดิน ซึ่งเป็นวิธีที่อันตรายมาก รวมทั้งวิธีคิดว่าจะต้องมีการเสียชีวิตเกิดขึ้นถึงจะมีการชนะ แต่เหตุการณ์ครั้งนี้ถึงแม้มีผู้เสียชีวิตก็ยังไม่มีผู้ชนะ นอกจากนี้ตนเห็นว่าแม้จะมีการแก้รัฐธรรมนูญก็คงไม่สามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งได้ ทั้งนี้สิ่งที่ต้องพยายามคือนำการเมืองในท้องถนนกลับเข้าไปสู่ในสภาให้ได้

ถ้าฉันเป็นนายกรัฐมนตรี ในประเทศที่กำลังมีอุทกภัย

ถ้าฉันเป็นนายกรัฐมนตรี ในประเทศที่กำลังมีภัยพิบัติน้ำท่วมครั้งใหญ่ในรอบ 50 ปี
คัดลอกจากเรียงความของนักเรียน ป.4 คนหนึ่ง
ซึ่งเขียนส่งอาจารย์เป็นการบ้านวิชาสังคมศึกษา

กินพื้นที่กว่า 30 จังหวัดหรือเกือบครึ่งประเทศ
ผู้คนเดือดร้อนหลายล้านคน
เป็นเวลายาวนานเกือบหนึ่งสัปดาห์เต็ม

ฉันจะ.............
ฉันจะสั่งทำถุงยังชีพ ให้ข้างถุงเขียนว่า “มาจากภาษีประชาชน” ไม่ต้องให้ใครได้ “เอาหน้า” เพราะประชาชนเป็นคนทำงานเสียภาษีให้รัฐทุกปีอยู่แล้ว

ฉันจะจัดตั้ง “ศูนย์กลางแก้วิกฤติ” อย่างด่วนที่สุด ไม่รอให้เนิ่นช้ากว่า 7 วัน ไม่ปล่อยให้ “รัฐบาล” ซึ่งกินภาษีประชาชน ทำงานเชื่องช้ากว่าประชาชนด้วยกันเอง

ฉันจะเอา “ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน” หรือที่รู้จักกันในชื่อ “ศอฉ.” นั่นแหละมาปัดฝุ่นแล้วลุยงานเลย เพราะฉันเชื่อว่า “น้ำท่วม” ก็เป็นเรื่อง “ฉุกเฉิน” ของชาติเช่นกัน ไม่ใช่เฉพาะภารกิจปราบม็อบเสื้อแดงเท่านั้นที่ฉุกเฉิน

ฉันจะตั้งตัวเองเป็นหัวหน้าศูนย์ เพราะฉันคือผู้นำประเทศ และนี่คือช่วงเวลาที่ประเทศต้องการผู้นำ

ฉันจะไม่ตั้งที่ปรึกษาฯของฉันซึ่งไม่มีอำนาจอะไรทางกฏหมาย เป็นหัวหน้าศูนย์ โดยเฉพาะหากที่ปรึกษาคนนั้นเคยต้องลาออกจากตำแหน่งการเมืองด้วยเรื่องอื้อฉาวในอดีต

ฉันจะเอาข้อมูลทั้งหมดมาประมวลในภาพกว้าง ฉันจะต้องรู้ให้ได้ว่า “น้ำ” ที่ท่วมหนักที่สุดในรอบ 50 ปีนั้นมาจากไหน มาอย่างไร มาเมื่อไหร่ แล้วมันแตกต่างจากน้ำในปีก่อนๆอย่างไร และทำไมถึงต่าง

ฉันจะต้องรู้ด้วยว่าพื้นที่ไหนบ้างที่เดือดร้อนไปแล้ว พื้นที่ไหนกำลังเดือดร้อนในตอนนี้ และ พื้นที่ไหนที่น้ำจะท่วมต่อไปในวันพรุ่งนี้
และที่สำคัญคือ เมื่อไหร่ทุกอย่างจะคลี่คลาย

พื้นที่ไหนกำลังเดือดร้อน ฉันจะจัดแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ (แดง เหลือง เขียว) ฉันอยากรู้ด้วยว่าในพื้นที่แต่ละแบบนั้นมีประชาชนอยู่กี่คน จุดไหนบ้าง พื้นที่ไหนเป็นสภาพเมือง พื้นที่ไหนเป็นพื้นที่การเกษตร ฉันจะได้ส่งการช่วยเหลือไปอย่างเหมาะสม

ฉันจะกำหนดให้ศูนย์กลางแก้วิกฤติเป็นมากกว่า “คนประสานงาน” ระหว่างหน่วยงานราชการที่เชื่องช้า
ศูนย์กลางของฉันจะต้องทำหน้าที่ “บริหารทรัพยากร” ที่มีอยู่ให้ใช้ไปอย่างถูกที่ ถูกเวลา ด้วย

เงินทองที่เบิกจ่ายต้องโปร่งใสรวดเร็ว
ประมวลข้อมูลจากภาคสนามอย่างทันท่วงที
และประสานรับ “น้ำใจ” จากภาคเอกชนอย่างเป็นระบบ

ดังนั้น ศูนย์ของฉันจะมีข้อมูลรายละเอียดว่าวันนี้ อำเภอไหนบ้างที่ขาดไฟฉายเข้าขั้นวิกฤต
ตำบลใดรับข้าวสารไปหุงกินเองได้ ตำบลใดต้องการอาหารสำเร็จรูปมากกว่า
เส้นทางไหนต้องใช้เรือ ใช้กี่ลำ มีคนติดอยู่แถวนั้นกี่คน

ฉันจะรู้ด้วยว่าถึงนาทีนี้ข้าวสาร น้ำดื่ม ทั้งที่จัดซื้อมาเอง และประสานกับภาคเอกชนนั้น มีกี่ขวด
แจกจ่ายไปจุดไหนบ้างแล้ว ไปถึงที่หมายช้าเร็วแค่ไหน
มีใครได้เกินความจำเป็นหรือไม่ มีใครที่ขาดแคลนอย่างหนักแต่ยังไม่ได้หรือเปล่า

เงินบริจาคทุกบาทจะต้องทำบัญชี แสดงที่มาที่ไป หน่วยงานไหนรับบริจาคมาเท่าไหร่ ต้องแสดงให้ชัดเจน เพราะมันจะมีผลต่อการกล่าวอ้างเพื่อยกเว้นภาษี อีกทั้งป้องกันไม่ให้เกิดการฉ้อฉลโดยใช้ความเดือดร้อนของคนร่วมชาติเป็นเครื่องมือ

อ้อ .. ฉันจะแจ้งให้กลุ่ม “ชาตินิยม” ทั้งหลายทราบด้วยว่า ตอนนี้แหละคือเรื่องของ “ชาติ” จริงๆ เพราะมันคือเรื่องของคนตัวเป็นๆที่อยู่ในประเทศเดียวกัน ไม่ใช่ที่ดินผืนน้อยที่มีปัญหามาแต่โบราณ ใครอยากกู้ชาติ อยากพลีชีพ เชิญได้เต็มที่ในครั้งนี้ อย่ามัวแต่ไปต่อแถวกินโดนัท
ฉันจะต้องรู้ด้วยว่า “พื้นที่ปลอดภัย” ในแต่ละอำเภอ แต่ละจังหวัดนั้นมีที่ไหนบ้าง จุดไหนที่สามารถอพยพผู้คนเข้าไปได้ จุดไหนยังเสี่ยง

ฉันจะจัดทำแผนอพยพที่ชัดเจน จะไปเส้นทางใด ใช้พาหนะใด ใช้เวลาเดินเท่าไหร่ และที่สำคัญ วันนี้ปลอดภัยแล้วพรุ่งนี้จะปลอดภัยไหม ข้อมูลวิทยาศาสตร์ทำนายว่าอย่างไร

ดังนั้นหากรู้ว่า น้ำกำลังไหลจาก อำเภอ ก. ไป อำเภอ ข. ภายใน 12 ชั่วโมง ฉันจะได้สั่ง “อพยพ” ผู้คนได้ล่วงหน้า ทันเวลา ไม่ใช่เพียงแต่ทำงาน “ตามปัญหา”

ด้วยความที่ฉัน (และศูนย์กลางของฉัน) มีข้อมูลครบถ้วนรอบด้าน เห็นภาพกว้างที่สุด ฉันจะสามารถ “ประสาน” แนวทางการทำงานของแต่ละกลุ่ม ทั้งส่วนราชการต่างๆ หรือส่วนเอกชนอย่างอาสาสมัครกู้ภัย หรือกระทั่งสื่อมวลชน

ทุกคนจะได้ทำงานไปใน “ทาง” เดียวกัน เป้าหมายเดียวกัน และได้ประสิทธิภาพสูงสุด ไม่ใช่ต่างคนต่างทำ ซ้ำซ้อน ลักลั่น ไร้ทิศทาง

ฉันเชื่อว่าในสภาวะวิกฤติเช่นนี้ การส่งทรัพยากรอันจำกัดไปให้ถูกที่ ถูกเวลา นั้นสำคัญมาก – ใครขาดน้ำดื่มต้องได้น้ำดื่ม ใครขาดอาหารแห้งต้องได้อาหารแห้ง ใครป่วยต้องได้ถูกเคลื่อนย้ายออกมาทันที – เพราะการใช้ทรัพยากรไปหนึ่งครั้ง มันมีค่าเสียโอกาสอยู่ด้วย

เรือที่ออกไปแจกข้าวสาร สามารถใช้ไปรับคนป่วยได้เช่นกัน
เราเพียงต้องรู้ให้ชัดว่าเมื่อไหร่ควรใช้อะไร ทำอะไร เพื่ออะไร
ซึ่งการจะทำอย่างนั้นได้ มันต้องมีข้อมูลมุมกว้าง และต้องตัดสินใจอย่างจากภาพรวม
สำหรับพื้นที่ไหนที่น้ำยังไปไม่ถึง ฉันจะสั่งให้รีบ “เตรียมตัว” รับมือ ซึ่งไม่ได้หมายถึงการเอากระสอบทรายมา “กั้น” น้ำเพียงอย่างเดียว แต่ต้องหมายถึงการเตรียมทางหนี ทีไล่ ระบบแจ้งเตือน จัดพื้นที่ปลอดภัยไว้รอรับปัญหา จัดอาหาร ยารักษาโรค ไว้เผื่อกรณีฉุกเฉิน

พื้นที่ไหนน้ำเริ่มลดแล้ว ฉันจะเร่งช่วยเหลือประชาชน ซึ่งไม่ได้หมายถึงการ “แจกเงิน” อย่างมักง่ายเพียงอย่างเดียว เพราะฉันรู้ดีว่าเงินมีจำกัด และในสภาวะฉุกเฉินนั้น เงินอาจไม่ต่างจากกระดาษปึกหนึ่ง ที่อาจเอาไปซื้ออาหารมากินได้ไม่กี่มื้อ

ฉันจะเร่งช่วยเหลือประชาชนในช่องทางอื่นด้วย เช่น อาจได้เวลาปล่อยสต๊อกข้าวในยุ้งของรัฐ อาจประสานงานกับภาคเอกชนว่าต้องการ “สินค้าเกษตร” เป็นของบริจาค และ อาจเอางบประมาณฉุกเฉินมา “จ้างงาน” ผู้ประสบภัยให้ “ทำอาหาร” แจกจ่ายคนอื่นๆ ซึ่งเท่ากับเป็นการช่วยประชาชนได้ถึงสองต่อ (มีงานทำ ได้เงิน มีกิน) – ฉันหวังว่าไอเดียแบบเด็ก ป.4 ของฉันจะไม่ไร้เดียงสาเกินไปนัก

ฉันจะทำงานด้วยสำนึกในกะโหลกว่า “ผู้นำ” ประเทศมีหน้าที่รับทราบข้อมูล ประมวลผลในภาพกว้าง กำหนดกลยุทธ์ แนวทาง เป้าหมาย และ “ตัดสินใจ” ในทางเลือกสำคัญๆ

ผู้นำประเทศไม่ได้มีหน้าที่เพียง “รับฟัง” แล้วปล่อยให้ลูกน้องทำงานไปวันๆตามมีตามเกิด

ฉันรู้ดีว่าแนวทางเช่นนี้สำคัญมากในการ “บริหารวิกฤติ” และในฐานะ “นายกฯมือใหม่” ฉันจะตั้งใจทำมันให้ดีที่สุด
เพราะจะว่าไป “น้ำท่วม” อาจเป็นภัยพิบัติที่ “เบา” ที่สุดแล้ว หากเทียบกับ แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ หรือ ไวรัสระบาด

ฉันจะไม่ออกเดินทางพร่ำเพรื่อ หรือหากจะออกภาคสนาม ก็จะใช้ทรัพยากร (เช่น เจ้าหน้าที่ หรือ ยานพาหนะ) อย่างน้อยที่สุด เพราะสิ่งเหล่านั้นควรถูกนำไป “แก้ปัญหา” มากกว่ามาดูแลฉัน

ฉันจะพูดให้น้อย ทำงานให้มาก พูดเฉพาะเรื่องสำคัญๆ
เพราะรัฐบาลของฉันมีโฆษกกินเงินเดือนอยู่แล้ว

ฉันไม่อยากไปแย่งงานเขา ….

ถ้าฉันเป็นนายกรัฐมนตรี ในประเทศที่กำลังมีอุทกภัย

ถ้าฉันเป็นนายกรัฐมนตรี ในประเทศที่กำลังมีภัยพิบัติน้ำท่วมครั้งใหญ่ในรอบ 50 ปี
คัดลอกจากเรียงความของนักเรียน ป.4 คนหนึ่ง
ซึ่งเขียนส่งอาจารย์เป็นการบ้านวิชาสังคมศึกษา

กินพื้นที่กว่า 30 จังหวัดหรือเกือบครึ่งประเทศ
ผู้คนเดือดร้อนหลายล้านคน
เป็นเวลายาวนานเกือบหนึ่งสัปดาห์เต็ม

ฉันจะ.............
ฉันจะสั่งทำถุงยังชีพ ให้ข้างถุงเขียนว่า “มาจากภาษีประชาชน” ไม่ต้องให้ใครได้ “เอาหน้า” เพราะประชาชนเป็นคนทำงานเสียภาษีให้รัฐทุกปีอยู่แล้ว

ฉันจะจัดตั้ง “ศูนย์กลางแก้วิกฤติ” อย่างด่วนที่สุด ไม่รอให้เนิ่นช้ากว่า 7 วัน ไม่ปล่อยให้ “รัฐบาล” ซึ่งกินภาษีประชาชน ทำงานเชื่องช้ากว่าประชาชนด้วยกันเอง

ฉันจะเอา “ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน” หรือที่รู้จักกันในชื่อ “ศอฉ.” นั่นแหละมาปัดฝุ่นแล้วลุยงานเลย เพราะฉันเชื่อว่า “น้ำท่วม” ก็เป็นเรื่อง “ฉุกเฉิน” ของชาติเช่นกัน ไม่ใช่เฉพาะภารกิจปราบม็อบเสื้อแดงเท่านั้นที่ฉุกเฉิน

ฉันจะตั้งตัวเองเป็นหัวหน้าศูนย์ เพราะฉันคือผู้นำประเทศ และนี่คือช่วงเวลาที่ประเทศต้องการผู้นำ

ฉันจะไม่ตั้งที่ปรึกษาฯของฉันซึ่งไม่มีอำนาจอะไรทางกฏหมาย เป็นหัวหน้าศูนย์ โดยเฉพาะหากที่ปรึกษาคนนั้นเคยต้องลาออกจากตำแหน่งการเมืองด้วยเรื่องอื้อฉาวในอดีต

ฉันจะเอาข้อมูลทั้งหมดมาประมวลในภาพกว้าง ฉันจะต้องรู้ให้ได้ว่า “น้ำ” ที่ท่วมหนักที่สุดในรอบ 50 ปีนั้นมาจากไหน มาอย่างไร มาเมื่อไหร่ แล้วมันแตกต่างจากน้ำในปีก่อนๆอย่างไร และทำไมถึงต่าง

ฉันจะต้องรู้ด้วยว่าพื้นที่ไหนบ้างที่เดือดร้อนไปแล้ว พื้นที่ไหนกำลังเดือดร้อนในตอนนี้ และ พื้นที่ไหนที่น้ำจะท่วมต่อไปในวันพรุ่งนี้
และที่สำคัญคือ เมื่อไหร่ทุกอย่างจะคลี่คลาย

พื้นที่ไหนกำลังเดือดร้อน ฉันจะจัดแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ (แดง เหลือง เขียว) ฉันอยากรู้ด้วยว่าในพื้นที่แต่ละแบบนั้นมีประชาชนอยู่กี่คน จุดไหนบ้าง พื้นที่ไหนเป็นสภาพเมือง พื้นที่ไหนเป็นพื้นที่การเกษตร ฉันจะได้ส่งการช่วยเหลือไปอย่างเหมาะสม

ฉันจะกำหนดให้ศูนย์กลางแก้วิกฤติเป็นมากกว่า “คนประสานงาน” ระหว่างหน่วยงานราชการที่เชื่องช้า
ศูนย์กลางของฉันจะต้องทำหน้าที่ “บริหารทรัพยากร” ที่มีอยู่ให้ใช้ไปอย่างถูกที่ ถูกเวลา ด้วย

เงินทองที่เบิกจ่ายต้องโปร่งใสรวดเร็ว
ประมวลข้อมูลจากภาคสนามอย่างทันท่วงที
และประสานรับ “น้ำใจ” จากภาคเอกชนอย่างเป็นระบบ

ดังนั้น ศูนย์ของฉันจะมีข้อมูลรายละเอียดว่าวันนี้ อำเภอไหนบ้างที่ขาดไฟฉายเข้าขั้นวิกฤต
ตำบลใดรับข้าวสารไปหุงกินเองได้ ตำบลใดต้องการอาหารสำเร็จรูปมากกว่า
เส้นทางไหนต้องใช้เรือ ใช้กี่ลำ มีคนติดอยู่แถวนั้นกี่คน

ฉันจะรู้ด้วยว่าถึงนาทีนี้ข้าวสาร น้ำดื่ม ทั้งที่จัดซื้อมาเอง และประสานกับภาคเอกชนนั้น มีกี่ขวด
แจกจ่ายไปจุดไหนบ้างแล้ว ไปถึงที่หมายช้าเร็วแค่ไหน
มีใครได้เกินความจำเป็นหรือไม่ มีใครที่ขาดแคลนอย่างหนักแต่ยังไม่ได้หรือเปล่า

เงินบริจาคทุกบาทจะต้องทำบัญชี แสดงที่มาที่ไป หน่วยงานไหนรับบริจาคมาเท่าไหร่ ต้องแสดงให้ชัดเจน เพราะมันจะมีผลต่อการกล่าวอ้างเพื่อยกเว้นภาษี อีกทั้งป้องกันไม่ให้เกิดการฉ้อฉลโดยใช้ความเดือดร้อนของคนร่วมชาติเป็นเครื่องมือ

อ้อ .. ฉันจะแจ้งให้กลุ่ม “ชาตินิยม” ทั้งหลายทราบด้วยว่า ตอนนี้แหละคือเรื่องของ “ชาติ” จริงๆ เพราะมันคือเรื่องของคนตัวเป็นๆที่อยู่ในประเทศเดียวกัน ไม่ใช่ที่ดินผืนน้อยที่มีปัญหามาแต่โบราณ ใครอยากกู้ชาติ อยากพลีชีพ เชิญได้เต็มที่ในครั้งนี้ อย่ามัวแต่ไปต่อแถวกินโดนัท
ฉันจะต้องรู้ด้วยว่า “พื้นที่ปลอดภัย” ในแต่ละอำเภอ แต่ละจังหวัดนั้นมีที่ไหนบ้าง จุดไหนที่สามารถอพยพผู้คนเข้าไปได้ จุดไหนยังเสี่ยง

ฉันจะจัดทำแผนอพยพที่ชัดเจน จะไปเส้นทางใด ใช้พาหนะใด ใช้เวลาเดินเท่าไหร่ และที่สำคัญ วันนี้ปลอดภัยแล้วพรุ่งนี้จะปลอดภัยไหม ข้อมูลวิทยาศาสตร์ทำนายว่าอย่างไร

ดังนั้นหากรู้ว่า น้ำกำลังไหลจาก อำเภอ ก. ไป อำเภอ ข. ภายใน 12 ชั่วโมง ฉันจะได้สั่ง “อพยพ” ผู้คนได้ล่วงหน้า ทันเวลา ไม่ใช่เพียงแต่ทำงาน “ตามปัญหา”

ด้วยความที่ฉัน (และศูนย์กลางของฉัน) มีข้อมูลครบถ้วนรอบด้าน เห็นภาพกว้างที่สุด ฉันจะสามารถ “ประสาน” แนวทางการทำงานของแต่ละกลุ่ม ทั้งส่วนราชการต่างๆ หรือส่วนเอกชนอย่างอาสาสมัครกู้ภัย หรือกระทั่งสื่อมวลชน

ทุกคนจะได้ทำงานไปใน “ทาง” เดียวกัน เป้าหมายเดียวกัน และได้ประสิทธิภาพสูงสุด ไม่ใช่ต่างคนต่างทำ ซ้ำซ้อน ลักลั่น ไร้ทิศทาง

ฉันเชื่อว่าในสภาวะวิกฤติเช่นนี้ การส่งทรัพยากรอันจำกัดไปให้ถูกที่ ถูกเวลา นั้นสำคัญมาก – ใครขาดน้ำดื่มต้องได้น้ำดื่ม ใครขาดอาหารแห้งต้องได้อาหารแห้ง ใครป่วยต้องได้ถูกเคลื่อนย้ายออกมาทันที – เพราะการใช้ทรัพยากรไปหนึ่งครั้ง มันมีค่าเสียโอกาสอยู่ด้วย

เรือที่ออกไปแจกข้าวสาร สามารถใช้ไปรับคนป่วยได้เช่นกัน
เราเพียงต้องรู้ให้ชัดว่าเมื่อไหร่ควรใช้อะไร ทำอะไร เพื่ออะไร
ซึ่งการจะทำอย่างนั้นได้ มันต้องมีข้อมูลมุมกว้าง และต้องตัดสินใจอย่างจากภาพรวม
สำหรับพื้นที่ไหนที่น้ำยังไปไม่ถึง ฉันจะสั่งให้รีบ “เตรียมตัว” รับมือ ซึ่งไม่ได้หมายถึงการเอากระสอบทรายมา “กั้น” น้ำเพียงอย่างเดียว แต่ต้องหมายถึงการเตรียมทางหนี ทีไล่ ระบบแจ้งเตือน จัดพื้นที่ปลอดภัยไว้รอรับปัญหา จัดอาหาร ยารักษาโรค ไว้เผื่อกรณีฉุกเฉิน

พื้นที่ไหนน้ำเริ่มลดแล้ว ฉันจะเร่งช่วยเหลือประชาชน ซึ่งไม่ได้หมายถึงการ “แจกเงิน” อย่างมักง่ายเพียงอย่างเดียว เพราะฉันรู้ดีว่าเงินมีจำกัด และในสภาวะฉุกเฉินนั้น เงินอาจไม่ต่างจากกระดาษปึกหนึ่ง ที่อาจเอาไปซื้ออาหารมากินได้ไม่กี่มื้อ

ฉันจะเร่งช่วยเหลือประชาชนในช่องทางอื่นด้วย เช่น อาจได้เวลาปล่อยสต๊อกข้าวในยุ้งของรัฐ อาจประสานงานกับภาคเอกชนว่าต้องการ “สินค้าเกษตร” เป็นของบริจาค และ อาจเอางบประมาณฉุกเฉินมา “จ้างงาน” ผู้ประสบภัยให้ “ทำอาหาร” แจกจ่ายคนอื่นๆ ซึ่งเท่ากับเป็นการช่วยประชาชนได้ถึงสองต่อ (มีงานทำ ได้เงิน มีกิน) – ฉันหวังว่าไอเดียแบบเด็ก ป.4 ของฉันจะไม่ไร้เดียงสาเกินไปนัก

ฉันจะทำงานด้วยสำนึกในกะโหลกว่า “ผู้นำ” ประเทศมีหน้าที่รับทราบข้อมูล ประมวลผลในภาพกว้าง กำหนดกลยุทธ์ แนวทาง เป้าหมาย และ “ตัดสินใจ” ในทางเลือกสำคัญๆ

ผู้นำประเทศไม่ได้มีหน้าที่เพียง “รับฟัง” แล้วปล่อยให้ลูกน้องทำงานไปวันๆตามมีตามเกิด

ฉันรู้ดีว่าแนวทางเช่นนี้สำคัญมากในการ “บริหารวิกฤติ” และในฐานะ “นายกฯมือใหม่” ฉันจะตั้งใจทำมันให้ดีที่สุด
เพราะจะว่าไป “น้ำท่วม” อาจเป็นภัยพิบัติที่ “เบา” ที่สุดแล้ว หากเทียบกับ แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ หรือ ไวรัสระบาด

ฉันจะไม่ออกเดินทางพร่ำเพรื่อ หรือหากจะออกภาคสนาม ก็จะใช้ทรัพยากร (เช่น เจ้าหน้าที่ หรือ ยานพาหนะ) อย่างน้อยที่สุด เพราะสิ่งเหล่านั้นควรถูกนำไป “แก้ปัญหา” มากกว่ามาดูแลฉัน

ฉันจะพูดให้น้อย ทำงานให้มาก พูดเฉพาะเรื่องสำคัญๆ
เพราะรัฐบาลของฉันมีโฆษกกินเงินเดือนอยู่แล้ว

ฉันไม่อยากไปแย่งงานเขา ….